Page 90 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 90
“จากบางระกำาโมเดล สู่การจัดการนำ้าแล้ง-นำ้าท่วมแบบครบวงจร”
ดร.ภูริภัส สุนทรนนท์
“จากบางระก�าโมเดล
สู่การจัดการน�้าแล้ง-น�้าท่วมแบบครบวงจร”
1. บทนำา
ชั้นน�้าใต้ดินระดับตื้นในพื้นที่บางระก�าโมเดลเป็นชั้นน�้าใต้ดินแบบไร้แรงดัน (Unconfined เสียต่อชีวิตของเกษตรกรเป็นประจ�าทุกปี
Aquifer) ซึ่งจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวข้องโดยตรงกับปริมาณน�้าฝนและปริมาณน�้าผิวดิน ในฤดู เนื่องจากการขาดอากาศหายใจ ในขณะที่
แล้งระดับน�้าใต้ดินระดับตื้นโดยปกติจะมีแนวโน้มลดลงเนื่องจากไม่มีน�้าฝนที่ซึมลงดินและ เมื่อถึงฤดูน�้าหลากพื้นที่บางระก�าโมเดลได้
ไม่มีน�้าผิวดินที่มีปริมาณเพียงพอในการเติมลงสู่ชั้นน�้าใต้ดินระดับตื้น ขณะเดียวกันมีการ ถูกก�าหนดให้เป็นพื้นที่ส�าหรับรองรับน�้าที่
สูบน�้าขึ้นมาใช้เพื่อท�าการเกษตรในช่วงฤดูแล้งเพิ่มมากขึ้นจนเกินสมดุล การเกินสมดุลในที่นี้ ระบายจากแม่น�้ายมเพื่อช่วยบรรเทาน�้าท่วม
หมายถึงการสูบน�้าขึ้นมาใช้มากเกินกว่าการเติมน�้าลงชั้นน�้าใต้ดินตามธรรมชาติ ส่งผลให้ระดับ ในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย โดยสามารถรองรับ
น�้าใต้ดินระดับตื้นมีแนวโน้มลดลงอย่างถาวร สัญญาณที่บ่งชี้ถึงการใช้น�้าใต้ดินจนเกินสมดุล ปริมาณน�้าได้ประมาณ 550 ล้านลูกบาศก์
นั้นเกิดจากการที่เกษตรกรจ�าเป็นต้องด�าเนินการน�าเครื่องสูบน�้าลงไปติดตั้งในระดับที่ลึกลง เมตร ซึ่งท�าให้เกิดน�้าท่วมขังในทุ่งบางระก�า
ไปเพื่อให้สามารถสูบน�้าใต้ดินขึ้นมาใช้ได้ หรือที่เรียกกันว่าการทรุดบ่อ ซึ่งมักน�าไปสู่ความสูญ เป็นประจ�าอย่างน้อย 3-4 เดือน ในแต่ละปี
90
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564