Page 54 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 54
รถโบกี้ไฟฟ้าก�าลังปรับอากาศ (Power Car) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
กับการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในระบบการขนส่งทางรางและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ตารางที่ 3-1. ข้อมูลการเปรียบเทียบอัตราการสิ้นเปลืองน�้ามันเชื้อเพลิงระหว่างการใช้/ไม่ใช้
รถไฟฟ้าก�าลังในการท�าขบวน (ที่มา: การรถไฟแห่งประเทศไทย)
เมื่อวิเคราะห์ถึงการน�ารถไฟฟ้าก�าลัง
มาใช้งานจริงในขบวนรถตัวอย่างในการวิ่ง
ทั้งไปและกลับของขบวนรถโดยสารในแต่ละ 4. ประโยชน์ที่ได้รับจากการด�าเนินโครงการ
เส้นทาง จะท�าให้เห็นตัวเลขจากการค�านวณ รถไฟฟ้าก�าลัง
อัตราการสิ้นเปลืองน�้ามันเชื้อเพลิงที่คิดเป็น
ตัวเลขของความประหยัดค่าใช้จ่ายจริงใน ก่อให้เกิดการศึกษา พัฒนาและเปรียบเทียบเทคโนโลยีสะอาดและการวางแผนงาน
แต่ละเที่ยวดังแสดงในตารางที่ 3-1. จะพบว่า ในการสร้างหรือจัดซื้อเทคโนโลยีสะอาดในวันหน้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย
การใช้รถไฟฟ้าก�าลัง (Power car) เข้ามาต่อ เพื่อให้การบริการด้านการขนส่งผู้โดยสารเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green
พ่วงกับขบวนรถโดยสารเพื่อให้เป็นแหล่ง procurement) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อให้สอดคล้องกับความร่วมมือระหว่างประเทศ
พลังงานในการผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อป้อน นโยบายและแผนระดับชาติที่เกิดขึ้นใหม่อันได้แก่ ความตกลงปารีส ยุทธศาสตร์ชาติ
เข้าสู่ขบวนรถที่มีเครื่องปรับอากาศและ แผนการปฏิรูปประเทศ (พ.ศ. 2560 – 2579) ที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งแวดล้อม.
สิ่งอ�านวยความสะดวกอื่น ๆ ที่จ�าเป็นในการ ลดต้นทุนการด�าเนินงานขององค์กรเรื่องค่าใช้จ่ายน�้ามันเชื้อเพลิง ลด cost เรื่อง
ให้บริการในรถโดยสารแล้วนั้น กรณีที่ใช้ การจัดซื้อจัดจ้าง ค่าแรงงาน จากความสิ้นเปลืองของอะไหล่ฟุ่มเฟือยของเครื่องยนต์
รถไฟฟ้าก�าลังจะสามารถลดค่าใช้จ่ายได้โดย เช่น กรองเชื้อเพลิง น�้ายาระบายความร้อน น�้ามันเครื่องและอื่น ๆ
เฉลี่ยถึง 30%. ซึ่งหากค�านวณโดยประมาณ สนับสนุนให้เกิดการสร้าง Local content ภายในประเทศ เกิดการสร้างงาน การ
จะพบว่า ขบวนรถไฟไปกลับกรุงเทพ-เชียงใหม่ ใช้จ่ายภายในประเทศเพิ่มขึ้น สร้างองค์ความรู้ด้านนวัตกรรมใหม่ส่งผลต่อการ
1 ขบวน จะประหยัดค่าเชื้อเพลิงได้เกือบ สนับสนุนกฎว่าด้วยแหล่งก�าเนิดของสินค้า (Rule of Origin)โดยผู้ประกอบการ
5 ล้านบาทในระยะเวลา 1 ปี ยังไม่รวมข้อ จะพัฒนาและปรับปรุงการผลิตให้ครบวงจรมากขึ้นหรือปรับเปลี่ยนขบวนการผลิต
ได้เปรียบในด้านอื่น ๆ เช่น ค่าใช้จ่ายในการ ให้ดีขึ้น
ซ่อมบ�ารุงที่ต�่ากว่า การสลับสับเปลี่ยนขบวน ค่าเสื่อมราคา (Depreciation) ส�าหรับรถโดยสารปรับอากาศที่พ่วงรถไฟฟ้าก�าลัง
ในกรณีที่เกิดปัญหาที่สามารถท�าได้ ตลอดอายุการใช้งานมีแนวโน้มมูลค่าต�่าลง
รวดเร็วกว่า เป็นต้น เพิ่มผลลัพธ์ของการบริหารภาพลักษณ์ (Cooperate Image and Brand
Management) ซึ่งเป็นต้นทุนขององค์กรในเรื่องความสะดวกสบายของผู้โดยสาร
ให้มีค่ามากขึ้นเกิดความศรัทธาต่อการใช้บริการ
54 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565