Page 70 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 70

การออกแบบระบบค�้ายันทางข้างให้กับคานเหล็ก


            การค�้ายันทางข้างนี้ หากค�้ายันด้วยองค์อาคาร     ในแต่ระรูปแบบก็มีรูปแบบย่อย เช่น Lateral bracing (เสียเสถียรภาพเมื่อ
          ที่มีขนาดที่เล็กจนเกินไป ก็อาจจะเกิดการ (1) พังวิบัติ   เคลื่อนออกทางข้าง และเมื่อเคลื่อนออกทางข้าง การบิดตัวก็เกิดขึ้นไปพร้อม ๆ กัน)
          หรือ (2) เสียรูปมาก จนท�าให้ไม่สามารถต้านทาน  ก็จ�าแนกออกได้เป็น (1a) Point lateral bracing (1b) Panel lateral bracing
          ต่อการโก่งเดาะรอบแกนอ่อนของคานไปได้ ดังนั้น   และส�าหรับ Torsional bracing (เสียเสถียรภาพเมื่อบิดตัว ไม่เกิดการเคลื่อน
          ผู้ออกแบบจึงต้องพิจารณา ทั้งก�าลังหรือความ  ออกทางข้าง) ก็สามารถจ�าแนกออกได้เป็น (2a) Point torsional bracing (2b)

          สามารถในการต้านทานแรง (strength) และสติฟเนส    Continuous torsional bracing
          หรือความสามารถในการต้านทานการเสียรูป (stiffness)
          ของระบบค�้ายันทางข้าง (lateral system) โดย AISC
          ได้จ�าแนกประเภทการค�้ายันทางข้างส�าหรับคาน
          ไว้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้คือ



            1)  ค�้ายันต้านการเคลื่อนตัวออกทางข้าง (Lateral
               Bracing) กรณีนี้ จุดสูญเสียเสถียรภาพ คือ
               จุดที่ คานหลักเกิด “การเคลื่อนตัวออก
               ทางข้าง” เช่น คาน simple beam รับ
               uniform load ตัวหนึ่ง มีการใช้คานซอย

               มาค�้าทางข้างที่กึ่งกลาง เข้าไปยัง rigid
               wall หรืออาจใช้ค�้ายันทางข้างแนวทแยง       รูปที่ 2 การค�้ายันต้านทานการเคลื่อนตัวออกทางข้าง (lateral bracing)
               รั้งเข้าสู่ rigid support ซึ่งด้วยเป็นการ   รูปภาพจาก www.facebook.com/WeLoveSteelConstruction
               ค�้าคานหลัก ซึ่งการเคลื่อนตัวออกทางข้าง
               ของคานหลักจะเกิดขึ้นได้เมื่อค�้ายัน    (1a) Point lateral bracing คือมีการค�้ายันเป็นจุด “point” เข้าไปยังระบบ
               ทางข้างวิบัติจากแรงอัด หรือเกิดการเสียรูป   ที่สติฟเนส (stiffness) สูงมาก ๆ กล่าวคือ แทบไม่เกิดการเคลื่อนที่ออก
               จากแรงอัดที่มากเกินไป อย่างใดอย่างหนึ่ง    ทางข้างเมื่อมีแรงมากระท�า เช่น คานที่มี beam bracing มาค�้าไปยัง rigid

               ระหว่าง strength กับ stiffness requirement  wall ตัวอย่างเช่น คานหลักวางขนาน shear wall แล้วมีการติดตั้งคานซอย
                                                          ค�้าตั้งฉากกับคานหลักไปยัง shear wall หรือ คานที่มี beam bracing
            2) ค�้ายันต้านการบิดตัว (Torsional bracing)   มาค�้าไปที่ beam support ตัวอย่างเช่น bracing ที่ติดตั้งจากจุดกึ่งกลาง
               มักเกิดขึ้นกับการค�้ายันทางข้าง ที่ไม่ได้  คาน ไปยังต�าแหน่งเสาที่รองรับคานอีกตัวที่อยู่ติดกัน point lateral
               วิ่งเข้าสู่ rigid support/wall เช่น ค�้ายัน  bracing ตัวนี้ ต้องมีก�าลังต้านทานแรงอัด (compressive strength)

               คานหลักตัวหนึ่งทางข้างไปยังคานหลัก         และต้องมีความสามารถในการต้านทานการเสียรูปจากแรงในแนวแกน
               อีกตัวที่อยู่ถัดกัน พบเห็นได้ทั่วไปกับงาน  (axial stiffness) อย่างเพียงพอ เพื่อป้องกันการเกิด lateral torsional
               สะพาน จ�าพวก I-girder bridge ที่คาน        buckling กับคานดังกล่าว
               สะพาน #ไม่มีจุดที่สามารถค�้าไม่ให้เคลื่อน
               ตัวออกทางข้าง หรือไม่สามารถมี rigid
               support ส�าหรับ lateral bracing ได้

               แต่ยังสามารถมี  torsional  rigidity
               ต้านทานการบิดตัวได้









          70 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75