Page 68 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 68

ณัฐพล  สุทธิธรรม



          การออกแบบระบบค้�ายันทางข้าง


          ให้กับคานเหล็ก




          Design of lateral bracings for steel beams






          ใช้คานเหล็ก H100x50 ค�้ายันคาน H350x175 ยาว 6 เมตร จะเพียงพอไหม?

          ใช้แผ่น metal sheet ค�้ายันแป (purlin) C150x50 ยาว 6 เมตร จะเพียงพอไหม?















                                                                                  ก่อนลงไปในรายละเอียดการค�้ายัน
                                                                                ทางข้าง ผู้ออกแบบจ�าเป็นต้องมีความเข้าใจ
                                                                                เกี่ยวกับพื้นฐานด้านเสถียรภาพก่อน เริ่มต้น

                                                                                จากความสามารถในการรับแรงอัดของเสา
                                                                                ซึ่งเป็นองค์อาคารรับแรงอัด (compression
            เรื่องนี้เป็นเรื่องที่เป็นข้อสงสัยกันพอสมควร ว่าต้องค�้ายันให้คานหรือองค์  member) ที่จะสามารถเกิดการโก่งเดาะ
          อาคารรับการดัด (flexural member) มากเพียงใดถึงจะเพียงพอ ก่อนอื่นต้อง  (หรือการดุ้ง ที่เรียกว่า buckling) โดย
          ขอระบุแหล่งที่มาอ้างอิงส�าคัญไว้ก่อนนะครับ ว่ามีแสดงไว้ในมาตรฐาน AISC360:  เป็นการโก่งเดาะแบบดัดหรือ flexural

          Appendix 6: Member Stability Bracing ใน AISC 360 (ขออ้างอิงข้อมูล   buckling ส�าหรับหน้าตัดสมมาตรทั่วไป
          version ปี 2016 ล่าสุดนะครับ) ทั้งนี้ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ  ได้มีการ  (กลุ่ม H-beam หรือ ท่อเหลี่ยมท่อกลวง)
          จัดท�ามาตรฐานการออกแบบส�าหรับอาคารโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ วสท.          การค�านวณออกแบบเสานั้นจ�าเป็นต้อง
          011038 ซึ่งอ้างอิง AISC360 โดยแสดงไว้ในภาคผนวก ฉ. การค�้ายันเพื่อ     ทราบความยาวของเสา (L) ซึ่งพิจารณาจาก
          เสถียรภาพขององค์อาคาร


















          68 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73