Page 71 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 71
การออกแบบระบบค�้ายันทางข้างให้กับคานเหล็ก
รูปที่ 3 การค�้ายันต้านทานการเคลื่อนตัวออกทางข้างแบบแผง panel lateral bracing
รูปภาพจาก www.facebook.com/WeLoveSteelConstruction
(1b) Panel lateral bracing คือมีการค�้ายันด้วยแผ่น หรือ panel เช่น
แผ่นพื้น แผ่นโลหะ (metal sheet) ที่วางตัวตลอดคานไปสิ้นสุดยังจุดหรือ
ระบบที่ที่สติฟเนสสูงมาก ๆ แทบไม่เกิดการเคลื่อนที่ เช่น คานสะพาน
simple beam 2 ตัว มีแผ่นพื้นพาดที่ปีกบน จากตอม่อซึ่งเป็น support ของ (2a) Point torsional bracing คือการค�้ายัน
คานด้านหนึ่งไปจนสุดตอม่อหรือ support ของคานอีกด้านหนึ่ง และคาน เป็นจุด เข้าไปยังระบบที่สามารถการ
ถูกยึดรั้งไม่ให้เคลื่อนที่ออกทางข้าง ณ ต�าแหน่งที่คานติดตั้งเข้ากับตอม่อ เคลื่อนที่ออกทางด้านข้างได้ แต่เป็นไปเพื่อ
(ไม่เกิดการเคลื่อนที่ ณ ต�าแหน่ง support) panel lateral bracing นี้ ต้านทานการบิดตัวของคาน เช่น คานรองรับ
ต้องมีก�าลังต้านทานแรงเฉือน (shear strength) และความสามารถ รถไฟฟ้ารางเดี่ยว (monorail) 2 ตัว มีคาน
ในการต้านทานการเสียรูปจากแรงเฉือน (shear stiffness) อย่างเพียงพอ ขวาง beam bracing ที่ต�าแหน่งกึ่งกลาง
เพื่อป้องกันการเกิด lateral torsional buckling กับคานดังกล่าว คาน Point torsional bracing ตัวนี้ ต้องมี
ก�าลังต้านทานแรงดัด (flexural strength)
และต้องมีความสามารถในการต้านทานการ
เสียรูปจากแรงดัดตัว (flexural stiffness)
อย่างเพียงพอเพื่อป้องกันการเกิด lateral
torsional buckling กับคานดังกล่าว
(2b) Continuous torsional bracing ไม่ได้
มีความแตกต่างจาก point torsional
bracing มากนัก เพียงแต่มี bracing วาง
อย่างสม�่าเสมอหลาย ๆ ตัว เช่น คานเหล็ก
ในโรงงานอุตสาหกรรม 2 ตัว มี คานซอย
ขนาดเล็ก ๆ ติดตั้งเชื่อมคานทั้ง 2 ตัว ทุก ๆ
รูปที่ 4 การค�้ายันต้านทานการบิดตัว (torsional bracing) 50 cm ก่อนที่จะเอาตะแกรงเหล็ก grating
รูปภาพจาก www.facebook.com/WeLoveSteelConstruction มาวางด้านบน
ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 กันยายน-ธันวาคม วิศวกรรมสาร 71