Page 37 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 37
ตอนที่ ๑๒ จากเขียนแบบวิศวกรรม และคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ถึง BIM และ AI ตอนที่ ๑
มีเสถียรภาพดี (เช่น เป็นดารานักแสดง หน้าตา อนาคต มักเก่งหลายเรื่อง ท่านเป็นเช่นนั้น หรือไม่ หรือ ท่านรู้จักผู้ใดที่เป็นเช่นนั้น
จะหล่อเหลา สวยงาม เป็นสิ่งปลูกสร้าง
จะงามสง่า สมดุล มั่นคง เป็นพื้นที่ใช้สอย
ในอาคาร จะใช้ประโยชน์ได้สูงสุด) เส้น ตัวหนังสือ กับการเขียนแบบ Descriptive
Galileo Galilei (ค.ศ. ๑๕๖๔ - ๑๖๔๒) Geometry ที่หายไป
อาจเป็นทั้งนักสังเกตการณ์ธรรมชาติ
นักดาราศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ นักประดิษฐ์ Free - hand และการเขียนแบบ รวมเส้น และตัวหนังสือ เส้น ประกอบด้วยเส้นตรง
ศิลปิน หรือนักปรัชญาการปกครอง เพราะ และเส้นโค้ง (Line & curve) เส้นโค้งมีหลายลักษณะ ผู้ที่ Free - hand เก่ง หมายถึง
นอกจากจะพิสูจน์กฎธรรมชาติของวัตถุ พื้นฐานเส้นจะดี (เส้นต้องมีน�้าหนัก สม�่าเสมอ) เส้นตรง ประกอบด้วยเส้นดิ่ง (ปกติลาก
ภายใต้แรงโน้มถ่วง และการเคลื่อนที่แบบ จากบนลงล่าง) และเส้นแนวนอน (ลากจากซ้ายไปขวา หรือกลับกันโดยอนุโลม ขึ้นกับ
Projectile ทั้งกล้องโทรทัศน์ และกล้อง มือข้างที่ถนัด) เส้นเฉียง (มีทั้งจากซ้างเฉียงไปขวา หรือกลับกัน) ปกติลากจากบนลงล่าง
จุลทัศน์ (Telescope & Micro-scope) แต่ควรเขียนได้ทั้งล่างขึ้นบน ยามฝึกฝน Free – hand Sketch และลากเส้น ต้องเริ่มตั้งแต่
ที่เขาประดิษฐ์ น�ามนุษยโลกไปไกลโพ้น จับดินสอ หรือปากกา ฝึกลากเส้นด้วยความรวดเร็ว ให้เส้นยาวเข้าไว้ (อย่าด่วนคาดหวัง
จนถึงสิ่งเล็ก ๆ รอบตัวที่ไม่เคยมองเห็นมา ว่า ทุก ๆ เส้นจะขนานกัน หากลากเส้นสั้น ๆ ด้วยความรวดเร็ว น�้าหนักเบา ทุกเส้นย่อม
ก่อน (ค้นพบบริวารของดาวพฤหัสบดี และ ขนานกันได้ง่าย - ในทางศิลปอาจดี แต่ไม่ใช้กับงานวิศวกรรม) ลากให้ได้เส้นยาว ท�านาย
ดูสิ่งมีชีวิตที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า) อนาคต ฝึกให้มองการณ์ไกล คิดก่อนท�า รอบคอบ เช่น ยามไปท�างานส�ารวจ เช่นถนน
ในยุคสงคราม Free - hand Sketch หรือทางน�้า (มองให้ไกล หรือมี Vission มองเผื่อการวางโค้ง) งานขุดร่อง ตอกเสาเข็ม
ด้วยดินสออย่างหยาบ ๆ ของ Ferdinand ท�าก�าแพงกันดิน Diaphragm Wall หรือรั้ว ต้องรักษาแนว ถึงวันที่ท�างาน วิศวกรจะทราบ
Porsche (ค.ศ. ๑๘๗๕ - ๑๙๕๑) ได้ หรือหาวิธีบังคับควบคุมแนวงานให้ตรงได้ (รูปที่ ๒)
จินตนาการจากไข่ต้มผ่าซีก รูปโฉมที่ไม่เอื้อ
ต่อ Aero -dynamic แต่ขจัด Drag Force
ได้อย่างมีประสิทธิผล และเครื่องยนต์
ขับเคลื่อนหลัง (ท�าให้เกิดรถยนต์อมตะของโลก)
หรือ Free - hand Sketch อากาศยานรบ
เครื่องยนต์ไอพ่น ของ Hans-Joachim
Pabst Von Ohain (ค.ศ. ๑๙๑๑ - ๑๙๙๘)
ที่ถือก�าเนิดไล่เลี่ยกับ เครื่องยนต์ไอพ่น โดย
Sir Frank Whittle (ค.ศ. ๑๙๐๗ - ๑๙๙๖)
ทั้งสองท�าให้โลกที่เพิ่งก้าวผ่านเข้าสู่ยุคการบิน รูปที่ ๒ ตัวอย่างการบังคับควบคุมแนวงานให้ตรง
ในปี ค.ศ. ๑๙๐๗ โดยสองพี่น้องตระกูล (อนุเคราะห์โดย รักตระกูล ศรีค�า และมีเดช อนันตวงศ์)
Wright (Orville Wright ค.ศ. ๑๘๗๑ - ๑๙๔๘ เส้นโค้ง อาจเป็นโค้งวงกลม ง่าย ๆ ที่ต้องใช้สายตา ดินสอ หรือปากกา กะประมาณ
และ Wilbur Wright ค.ศ. ๑๘๖๗ - ๑๙๑๒) รัศมีโค้งก่อน (กลั้นใจ) ลากโค้ง เส้นโค้งช่วยฝึกฝนสมาธิ และจิตใจของคนเรียน หรือวิศวกรได้
บินได้รวดเร็วเป็นทวีคูณ ในประเทศไทย ภาพร่าง เมื่อต้องต่อเส้นโค้งกับเส้นตรง ลบมุม ให้โค้งมน (Chamferred) หรือกว๊านมุมเว้า
กึ่งลายเส้น พระที่นั่งอนันตสมาคม โดย Mario (Fillet) ต้องไม่ให้รอยต่อเส้นตรง และโค้ง เกิดเหลี่ยม (Angle point or ridge) เรื่องนี้
Tamagno (พ.ศ. ๒๔๒๐ - ๒๔๘๔) และ ในการท�างาน ก็ต้องห้าม เช่น ที่รอยต่อระหว่างโค้งวงกลม และแนวตรงของถนน ท�าให้
พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท โดยสมเด็จพระเจ้า ยวดยานพาหนะสะดุด มีอันตราย จึงต้องแก้จุดสัมผัสด้วยโค้งก้นหอยแบบต่าง ๆ (Transition
บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ด้วย true spiral หรือ clothoid; cubic spiral; cubic parabola หรือ Froude’s transition;
(พ.ศ. ๒๔๐๖ - ๒๔๙๐) คือแบบอย่าง curve lamniscate แล้วแต่กรณี) งานก่อสร้างสถาปัตยกรรมโค้ง เช่น อาคาร
โลกนี้ มีคนเก่งมากมาย และจะยัง หรือสระน�้าแบบ Free - form ต้องระวังเรื่องนี้ หาไม่แล้ว ภาพปรากฏของอาคาร
ปรากฏคนเก่งอยู่ตลอดไป แปลกแต่จริง หรือโครงสร้างย่อมไม่งาม หรือขาดสุนทรียภาพ (อ้างตามค�าบอกกล่าวของหลายท่าน)
คนเก่งในอดีต ถึงปัจจุบัน และอาจรวม
วิศวกรรมสาร l ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568 37