Page 17 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 17

วิศาล ตรงศรีพาณิชย์, ดร.กีรติ สุวรรณปากแพรก, เมธี สุวรรณสนธิ์




            การใช้เสาท่อเหล็ก




            กับงานก่อสร้างอาคารหลายชั้น








                ที่มาและความส�าคัญ                             อาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากยิ่งขึ้น กฎหมายควบคุม
                                                               อาคารมีการลดอัตราการทนไฟอาคารลง ตามกฎกระทรวงฯ ที่เพิ่ง
              ในประเทศไทย ระบบงานก่อสร้างอาคารหลายชั้น หรือ  ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในปี พ.ศ. 2566 ตลอดจนเทคโนโลยี
            multi-story building นั้น โดยส่วนใหญ่แล้ว เป็นระบบโครงสร้าง การออกแบบผ่านเทคโนโลยี BIM และการผลิตจากโรงงานที่ดี

            คอนกรีตเสริมเหล็ก ตั้งแต่เสาตอม่อ เสา คาน พื้น ที่เป็นส่วนของ มากยิ่งขึ้น ระบบโครงสร้างเหล็กจึงเริ่มเป็นที่จับตามองส�าหรับ
            ระบบรับแรงในแนวแรงโน้มถ่วงของโลก (gravity system) และ งานก่อสร้างอาคารในแนวสูงมากกว่าในอดีตที่ผ่านมา
            ผนังคอนกรีตรับแรงเฉือน (shear wall) ที่เป็นส่วนรับแรงทางข้าง    ส�าหรับการออกแบบโครงสร้างเหล็กเชิงพฤติกรรมนั้น เป็นที่
            (lateral system) ด้วยเหตุผลพื้นฐานคือ เป็นระบบที่ผู้รับเหมา ทราบกันดีในกลุ่มวิศวกรโครงสร้างว่า เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ
            ก่อสร้างบ้านเราคุ้นเคยกันดี มีวัสดุจ�าหน่ายในท้องตลาดที่สามารถ กลวง (Hollow Steel Section, HSS) ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า “ท่อ” นั้น

            หาได้ทั่วไป มีผู้ออกแบบเป็นจ�านวนมาก ไม่เสียต้นทุนมากในการ เป็นรูปลักษณะหน้าตัดที่สามารถรับแรงอัด (axial compression)
            ป้องกันไฟตามกฎหมายควบคุมอาคาร กอปรกับบ้านเราค่าแรงยัง ได้ดี ด้วยเหตุที่ “ความสามารถในการต้านการดัดตัวดีเยี่ยมทั้ง
            ไม่สูงมาก แต่อย่างไรก็ดีด้วยแรงงานก่อสร้างที่นับวันจะหายากมาก 2 แกน” แตกต่างจากการใช้ H-beam ที่จะมีความเสี่ยงต่อการ
            ยิ่งขึ้น ค่าแรงงานขั้นต�่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น นโยบายด้านการ วิบัติรอบแกนอ่อน (ที่ตั้งฉากกับปีกเสา H-beam) อันส่งผลท�าให้













































              วิศวกรรมสาร                                                             ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567  17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22