Page 18 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 18
การใช้เสาท่อเหล็กกับงานก่อสร้างอาคารหลายชั้น
ขนาดมิติของ HSS column มีขนาดไม่ใหญ่ POSTCONNEX นี้ ได้พัฒนามาจากหลักคิด
มากนัก อย่างไรก็ดีการท�าจุดต่อระหว่างท่อกับ ของการถ่ายแรงจากเสาเหล็กลงสู่เสาตอม่อ
ท่อก็เป็นปัญหาอุปสรรคเสมอมาด้วยเหตุที่การ คอนกรีต ที่ต้องมีการรองรับด้วย แผ่นฐาน
ต่อโครงสร้างเหล็กให้รวดเร็วต้องใช้สลักเกลียว (base plate) ซึ่งท�าหน้าที่กระจายความเค้น
และแป้นเกลียว (bolt and nut) แต่การติดตั้ง อัดที่ส่งผ่านจากเสาเหล็ก (ก�าลังครากของเหล็ก
bolt & nut ไม่สามารถท�าได้กับ HSS ด้วย เกินกว่า 4,000 ksc) ไปสู่คอนกรีตตอม่อ (ก�าลัง
เหตุผลด้าน “ลักษณะทางกายภาพที่การเข้าถึง รับแรงอัดของคอนกรีตอัด 400 ksc) ด้วยการ
ทั้ง bolt & nut ในระหว่างการติดตั้ง ที่ไม่ ขยายพื้นที่รับและถ่ายแรงอัดให้มากขึ้นโดยใช้
สามารถด�าเนินการได้” การใช้ท่อเหล็กในงาน base plate ซึ่งผู้ออกแบบจ�าเป็นต้องออกแบบ
ก่อสร้างจึงพบเห็นอย่างจ�ากัดโดยเฉพาะอย่าง ให้ขนาด base plate ใหญ่เพียงพอจนไม่เกิด
ยิ่งในต่างประเทศที่มีการควบคุมคุณภาพของ การวิบัติที่คอนกรีตตอม่อ แต่ไม่ใหญ่จนเกินไป
รอยเชื่อมที่เข้มงวด อันส่งผลให้เกิด base plate bending failure
หากเราสามารถแก้ปัญหาด้านการต่อ และ หลักการดังกล่าวนี้ หากพิจารณา “กลับหัว
การรับแรงที่ถ่ายจากพื้นคอนกรีตได้ การใช้เสา กลับหาง” จาก แผ่นฐาน (base plate) กลายเป็น
ที่ผลิตจาก “ท่อเหล็กกล้าคาร์บอน” ก็น่าจะ แผ่นปิดหัวเสา (cap plate) ซึ่งท�าหน้าที่ (1)
ช่วย ลดขนาดมิติแต่ไม่ลดก�าลังรับแรงลงอัน รับแรงที่ถ่ายจากแผ่นพื้นคอนกรีต และ (2)
ส่งผลท�าให้พื้นที่ใช้สอย พื้นที่ขาย พื้นที่เช่า อ�านวยการต่อดาม หรือ splice เสาท่อนบน
เพิ่มสูงขึ้น ลดระยะเวลาในการก่อสร้างอย่างมี เข้ากับเสาท่อนล่าง ด้วยการใช้ bolt & nut
ประสิทธิภาพ ไม่ต้องตีไม้แบบ ผูกเหล็ก หย่อน ด้วย load path การถ่ายแรงที่ค่อนข้าง
เหล็กเสริม เทคอนกรีต รอคอนกรีตแข็งตัว ฯลฯ ซับซ้อน และยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยทั้งในและ
ลดปริมาณการใช้การเช่าเครน และลดปริมาณ ต่างประเทศปรากฏให้เห็นในเชิงประจักษ์ การ
แรงงานก่อสร้างที่นับวันจะหาได้ยากยิ่งขึ้น เมื่อ จะน�า POSTCONNEX ไปใช้ในทางปฏิบัติได้
ราวปี พ.ศ. 2564 บมจ. สหวิริยาสตีลอินดัสตรี อย่างปลอดภัย จึงมีความจ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะ
หรือ SSI จึงได้คิดค้นเทคโนโลยีการก่อสร้าง ที่ ต้องท�าการทดสอบในห้องปฏิบัติการ และน�า
เรียกว่า POSTCONNEX ขึ้น โดย POSTCONNEX ผลการทดสอบไปด�าเนินการศึกษาวิจัยท�าแบบ
เป็นระบบเสารับแรงในแนวแรงโน้มถ่วงของ จ�าลองประกอบการศึกษาเพิ่มเติม โดยได้
โลกที่เรียกว่า gravity column ที่สามารถ ด�าเนินการทดสอบช่วงปลายปี พ.ศ. 2564
รองรับระบบพื้นไร้คาน ไม่ว่าจะเป็น พื้นคอนกรีต ที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ด้วยการ
ท้องเรียบ (RC flat slab) หรือพื้นคอนกรีต สนับสนุนจาก ดร.เอกชัย อยู่ประเสริฐชัย จาก
อัดแรง (Post-tensioned slab) โดยมีการต่อ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ระหว่างเสาท่อนล่างและเสาท่อนบน ซึ่งเป็นจุด พระจอมเกล้าธนบุรี โดยเป็นการทดสอบ
ต่อดาม (splice connection) จะถูกซ่อนอยู่ ตัวอย่างที่ “ย่อขนาดจริง” ลงราว 40% แผ่น
ในพื้นคอนกรีตไร้คานภายหลังจากที่เทคอนกรีต พื้นหนา 180 mm ท่อเหล็กขนาด 150x150
พื้นเสร็จสิ้น อันส่งผลท�าให้จุดต่อดามนี้ mm แผ่นปิดหัวเสา (cap plate) ขนาด
ไม่เกะกะ รกสายตา 320x320 mm
18 ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567 วิศวกรรมสาร