Page 17 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 17

การศึกษาอย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยาเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้งและน�้าท่วม



              3) เสนอแนะให้พัฒนาแบบจ�าลอง ส�าหรับท�านายปริมาณน�้าที่
            ไหลลงอ่างเก็บน�้าเขื่อนภูมิพล  เขื่อนสิริกิติ์และอ่างเก็บน�้าขนาดใหญ่
            ต่าง ๆ ของประเทศ ซึ่งสามารถท�านายเป็นรายฤดู รายสัปดาห์
            และรายวันได้
              4) ได้มีการน�าแบบจ�าลองส�าหรับค�านวณหาความต้องการน�้า

            ชลประทาน (Irrigation demand model) ที่ได้เริ่มพัฒนาไว้ใน
            (1) มาพัฒนาต่อ  พร้อมทั้งได้มีการเก็บข้อมูลจากแปลงทดลอง
            ในสนามโดยเฉพาะในเขตโครงการชลประทานในลุ่มน�้าอื่นมาสอบ
            เทียบแบบจ�าลองไว้จ�านวนหนึ่ง พร้อมทั้งได้มีการน�าแบบจ�าลอง
            ดังกล่าวไปใช้ในการศึกษาหาเกณฑ์การใช้น�้าจากอ่างเพื่อการเพาะ
            ปลูกฤดูแล้ง (DSAR-Curve) ด้วย ซึ่งมีรายละเอียดอยู่ใน (2), (3)

            และ (6)
              5) ส�าหรับปริมาณน�้าที่ไหลลงแม่น�้าเจ้าพระยาท้ายอ่างแต่เหนือ
            เขื่อนเจ้าพระยา และลุ่มน�้าอื่นที่ไม่มีอ่าง เช่น ลุ่มน�้ายม เสนอแนะ
            ให้พัฒนาแบบจ�าลองเพื่อท�านายเป็นรายฤดู รายสัปดาห์ และรายวัน
            เช่นเดียวกัน และควรให้ใช้ได้กับแบบจ�าลองการจัดสรรน�้าล่วงหน้า

            รายสัปดาห์ ในลุ่มน�้าเจ้าพระยา-แม่กลอง (เพราะมีการผันน�้าจาก
            ลุ่มน�้าแม่กลองมาใช้ในลุ่มน�้าเจ้าพระยา) ซึ่งรายละเอียดแบบจ�าลอง
            การจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องมาเป็น
            ระยะ ๆ  มีรายละเอียดอยู่ในเอกสารอ้างอิง (1), (2) และ (7) ซึ่งหลักการ
            ส�าคัญของแบบจ�าลองคือ
              ใช้ระบบท�านายล่วงหน้า รายสัปดาห์กล่าวคือ เมื่อจะเริ่มส่งน�้า   น�าข้อมูลเหล่านี้รวมกับข้อมูลที่ตรวจวัดได้จากแปลง
            ชลประทานให้พื้นที่เพาะปลูก กิจกรรมการเพาะปลูกที่จะน�ามาใช้   ทดลองในสนามมาค�านวณหาประสิทธิภาพชลประทาน

            ค�านวณหาปริมาณน�้าที่ส่งยังไม่เกิด  ฝนก็ยังไม่ตก จึงยังไม่ทราบค่า   (9)  เพื่อน�าไปประยุกต์ใช้ในการจัดสรรน�้าล่วงหน้าราย
            ปริมาณน�้าที่ไม่สามารถควบคุมได้และปริมาณน�้าที่เหลือใช้จาก   สัปดาห์ในฤดูถัดไป ส�าหรับการท�านายปริมาณน�้าที่ไหล
            พื้นที่ชลประทานตอนบน (ถ้ามี) และปริมาณน�้าที่ไหลลงอ่างเก็บน�้า    ลงอ่างและปริมาณน�้าที่ไม่สามารถควบคุมได้ (Inflow
            เมื่อสัปดาห์ถัดไปมาถึงจึงเก็บรวบรวมข้อมูลจากสนามมาค�านวณ  และ Side flow หรือ Uncontrol flow) อย่างเป็นระบบ
            เพื่อปรับแก้ส�าหรับการจัดสรรน�้าล่วงหน้าสัปดาห์ถัดไป  ด้วยแบบจ�าลองนี้ เมื่อใช้งานไปได้เป็นระยะเวลาหนึ่ง

              อนึ่งส�าหรับแบบจ�าลองจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์ ซึ่งต้อง   จะสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจในการ
            เก็บรวบรวมข้อมูลรายสัปดาห์ได้แก่ กิจกรรมการเพาะปลูกข้าว   ระบายน�้าออกจากอ่างเก็บน�้าต่าง ๆ ในลุ่มน�้าได้เป็น
            และพืชอื่นจากสนาม เช่น การเตรียมแปลงตกกล้า การเตรียม   อย่างดีทั้งในช่วงเกิดอุทกภัย ช่วงปกติและช่วงที่เกิด
            แปลงส�าหรับหว่านและปักด�า พื้นที่หว่าน พื้นที่ปักด�า และพื้นที่  ภัยแล้ง
            เก็บเกี่ยว เป็นต้น ส่วนข้อมูลฝนที่ตกบนแปลงที่มีกิจกรรมการ     6) เพื่อให้แบบจ�าลองการจัดสรรน�้าล่วงหน้า
            เพาะปลูกเป็นข้อมูลฝนรายวัน ปริมาณน�้าที่ส่ง (ค�านวณจากกราฟ   รายสัปดาห์มีความถูกต้องจึงเสนอแนะให้เลือกแปลง

            ที่ได้จากการวัดปริมาณน�้า ไม่ใช่ค�านวณจากสูตร) มีรายละเอียด   ทดลองขนาดต่าง ๆ ให้กระจายไปตามโครงการ
            อยู่ใน (2), (3) และ (8) และปริมาณน�้าที่เหลือใช้จากพื้นที่ตอนบน    ชลประทานต่าง ๆ ทั้งลุ่มน�้าเจ้าพระยา-แม่กลอง เพื่อ
            (ถ้ามี) ก็จะรวบรวมไว้เป็นรายวัน ข้อมูลเหล่านี้นอกจากจะใช้ในการ   ตรวจวัด (Monitor) ข้อมูลน�้าฝนที่ใช้แทนปริมาณ
            จัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์แล้วที่สิ้นสุดฤดูการเพาะปลูกจะ  น�้าชลประทานได้ (ความสัมพันธ์ระหว่างฝนที่ตก






                                                                                                    วิศวกรรมสาร  17
                                                                                       ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22