Page 18 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 18
การศึกษาอย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยาเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้งและน�้าท่วม
รายสัปดาห์และปริมาณฝนที่ใช้แทนน�้าชลประทานได้รายสัปดาห์) รับผิดชอบและควรมีการอบรมเกี่ยวกับงานที่เกี่ยวข้องทั้งทางทฤษฎี
และการใช้น�้าที่ส�าคัญอื่น ๆ รวมถึงปริมาณน�้าเหลือใช้ (Return และภาคปฏิบัติอย่างสม�่าเสมอ โดยเฉพาะผู้ที่มีส่วนรับผิดชอบ
flow) ทั้งบนแปลงทดลองและทั้งในและนอกระบบชลประทาน ในการตัดสินใจระบายน�้าออกจากอ่างเก็บน�้าขนาดใหญ่ ทั้งเพื่อ
เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3-5 ปี เพื่อน�ามาสอบเทียบแบบจ�าลอง การลดอุทกภัยท้ายน�้า การใช้น�้าเพื่อการเพาะปลูกทั้งฤดูฝนและ
ดังตัวอย่างใน (10) อนึ่งส�าหรับปริมาณฝนที่ใช้แทนน�้า ฤดูแล้ง และการใช้แก้มลิงและคลองผันน�้าในช่วงเกิดอุทกภัย
ชลประทานได้อาจต้องใช้เวลาเก็บข้อมูลยาวกว่า 5 ปี ทั้งนี้เพื่อให้ (ในระบบชลประทานคลองส่งน�้าต้นคลองใหญ่ปลายคลองเล็ก
ครอบคลุมฝนลักษณะต่าง ๆ ส่วนคลองระบายน�้า ต้นคลองเล็กปลายคลองใหญ่)
7) เมื่อได้ข้อมูลใหม่มากพอ เสนอแนะให้ศึกษาหาอุทกภัยและ 11) มาตรการใช้สิ่งก่อสร้างที่ส�าคัญอีกประการหนึ่งคือ การ
เกณฑ์การใช้อ่างเก็บน�้าเพื่อลดปัญหาน�้าท่วมและ เกณฑ์การใช้ ขุดลอกแม่น�้าล�าคลองท้ายฝาย และประตูควบคุมน�้า จะต้องค�านวณ
อ่างเก็บน�้าเพื่อการชลประทาน และเกณฑ์การใช้น�้าในอ่างเก็บน�้า ตรวจสอบก่อนว่าเมื่อขุดลอกแล้ว เวลาเปิดบานประตูหรือเวลา
เพื่อการเพาะปลูกฤดูแล้ง ของอ่างเก็บน�้าเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ มีปริมาณน�้าไหลผ่านจะไม่เกิดการกัดเซาะท้ายฝายหรือประตู
เขื่อนแควน้อย เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ และอ่างเก็บน�้าขนาดใหญ่ ควบคุมน�้า ซึ่งจะท�าให้เกิดอันตรายต่อฝายและประตูได้ โดยเฉพาะ
ต่าง ๆ ในลุ่มน�้าใหม่ เขื่อนเจ้าพระยา อนึ่ง การขุดลอกแม่น�้าล�าคลอง นอกจากจะ
8) ถ้าด�าเนินการได้ตามข้อ 6) และ 7) ซึ่งต้องศึกษาอย่างเป็น เกิดปัญหาดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังจะท�าให้เกิดน�้าท่วมและตลิ่ง
ระบบลุ่มน�้าที่ถูกต้อง ก็จะสามารถลดปัญหา น�้าท่วม (ปี 2554) ของแม่น�้าท้ายจุดขุดลอกพังทลายเพิ่มมากขึ้น ถ้าพิจารณาศึกษา
ได้มาก และสามารถแก้ปัญหาภัยแล้ง (ปี 2536-2537) ได้มากอีกด้วย ไม่ถูกต้อง
อนึ่งภัยแล้งปี พ.ศ. 2536-2537 ถ้าเกิดขึ้นอีกในอนาคตอาจ
ท�าให้กรุงเทพฯ ขาดน�้าดิบในกระบวนการผลิตน�้าประปาได้ เพราะมี
โครงการชลประทานเปิดใหม่ทางด้านเหนือน�้าหลังปี พ.ศ. 2536 5. สรุป
หลายโครงการซึ่งไม่ได้ศึกษาอย่างเป็นระบบลุ่มน�้า ประกอบกับ
มีการเสนอแนะให้ขุดลอกสันดอนปากแม่น�้าเจ้าพระยาและแม่น�้า ถ้าได้มีการศึกษาเพื่อปรับเกณฑ์การใช้อ่างช่วงเกิดอุทกภัย
ท่าจีนเพื่อให้สามารถระบายน�้าอุทกภัยออกได้มากขึ้น ฉะนั้น (Flood rule curve) และเกณฑ์การใช้น�้าในอ่างเพื่อการเพาะปลูก
ในฤดูแล้งก็จะมีปริมาณน�้าเค็มไหลเข้ามามากขึ้นเช่นเดียวกัน ฤดูแล้ง (DSAR-Curve) ของอ่างเก็บน�้าเขื่อนภูมิพลใหม่และ
จึงต้องการน�้าจืดมาดันน�้าเค็มเพิ่มมากขึ้น (อนึ่งปี พ.ศ. 2536 ตรวจสอบความมั่นคง (Stability) ของเขื่อนสิริกิติ์ในการใช้
ในเขตโครงการชลประทานเจ้าพระยาตั้งแต่ จ.ชัยนาทถึงปาก ปริมาตรอุทกภัยเหนือระดับเก็บกักน�้าปกติ (Flood surcharge
อ่าวไทยมีฝนตกทั้งปีเพียง 700 มม. และปริมาณน�้าที่ระบายลง storage) เก็บกักน�้าอุทกภัยในระหว่างและปลายฤดูฝน เป็นการ
ท้ายเขื่อนเจ้าพระยาเกิน 50 ลบ.ม.ต่อวินาที มีเพียง 900 ล้าน ลบ.ม. ชั่วคราว กับศึกษาเพื่อปรับเกณฑ์การใช้น�้าในอ่างเพื่อการเพาะปลูก
ซึ่งมีรายละเอียดอยู่ใน (11)) ดังตัวอย่างการแก้ปัญหาทางเลือก
หนึ่งคือการผันน�้าจากลุ่มน�้าแม่กลองผ่านคลองพระยาบันลือ
มาลงแม่น�้าเจ้าพระยา (โดยการสูบ) เหนือจุดสูบน�้าสามแล
ที่จังหวัดปทุมธานี ของการประปานครหลวง เป็นต้น ถ้าลุ่มน�้า
แม่กลองมีน�้าเหลือ
9) ส�าหรับอ่างเก็บน�้าเขื่อนสิริกิติ์ก่อสร้างมานานแล้ว เสนอแนะ
ให้ศึกษาเพื่อปรับปรุงให้สามารถเก็บกักน�้าบนปริมาตรอุทกภัยใหญ่
ถึงระดับน�้าในอ่างสูงสุดเป็นการชั่วคราวได้เหมือนเมื่อออกแบบ
ครั้งแรก
10) มาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้างที่ส�าคัญที่สุดคือ บุคคลากรที่
รับผิดชอบจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ทั้งพื้นฐานทางทฤษฎีและ
ประสบการณ์ในการน�าทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในงานด้านปฏิบัติที่
18 วิศวกรรมสาร
ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566