Page 16 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 16
การศึกษาอย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยาเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้งและน�้าท่วม
ปรึกษาได้เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น�้าทั้งในลุ่มน�้าเจ้าพระยา-แม่กลอง 4. แนวทางการศึกษาวิเคราะห์
โดยการพัฒนาแบบจ�าลองส�าหรับจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์
แบบจ�าลองส�าหรับค�านวณหาปริมาณน�้าที่ไหลลงอ่างเก็บน�้า การศึกษาเบื้องต้นเมื่อวิเคราะห์เป็นระบบลุ่มน�้าแล้วสามารถ
ปริมาณน�้าที่ไม่สามารถควบคุมได้แต่สามารถน�ามาใช้เพื่อการ สรุปได้ดังนี้
ชลประทานได้ (Side flow หรือ Uncontrol flow) ขึ้นมา ซึ่งมี 1) ได้มีการศึกษาเพื่อปรับเกณฑ์การใช้อ่างเก็บน�้าเขื่อนภูมิพล
รายละเอียดอยู่ใน (1), (2) และ (3) โดยใช้ระบบท�านายล่วงหน้า เพื่อลดปัญหาน�้าท่วมด้านท้ายน�้า ถ้าใช้เกณฑ์ใหม่นี้และเกิดอุทกภัย
มาค�านวณหาปริมาณน�้าที่ส่ง แล้วเก็บข้อมูลส�าคัญประจ�าสัปดาห์ เช่นปี พ.ศ. 2554 ขึ้นมาอีก จะสามารถลดน�้าท่วมสูง (Peak flow)
จากสนามมาค�านวณเพื่อปรับแก้ปริมาณน�้าที่ส่งในสัปดาห์ถัด ที่จังหวัดนครสวรรค์ได้ 500 ลบ.ม.ต่อวินาที มีรายละเอียดอยู่ใน (4)
ไป พร้อมกับได้มีการศึกษาการใช้น�้าในเขตโครงการชลประทาน 2) เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแควน้อยและเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เสนอแนะ
ที่เลือกขึ้น 4 โครงการ ((สองโครงการส่งน�้าจากที่สูงลงสู่ที่ต�่า (Gravity) ให้ศึกษาเพื่อลดปัญหาน�้าท่วมด้านท้ายน�้า โดยเมื่ออุทกภัย
และสองโครงการเป็นโครงการเก็บกักรักษาน�้า (Water conservation รอบ 100 ปีไหลผ่านอ่างเก็บน�้า ปริมาณน�้าที่ระบายลงท้ายน�้า
project) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมาตรการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น�้า ต้องไม่เกินความจุของแม่น�้า ดังกรณีศึกษาของเขื่อนอุบลรัตน์
โดยใช้ปริมาณน�้าที่ไม่สามารถควบคุมได้ก่อน ซึ่งได้แก่ ปริมาณฝน มีรายละเอียดอยู่ใน (5) ซึ่งอุทกภัยใหญ่ครั้งเดียวมากว่าความจุ
ที่ตกลงบนแปลงเพาะปลูก ถ้ายังไม่เพียงพอจึงจะใช้ปริมาณน�้าที่ ของอ่างเก็บน�้า โดยมีปริมาตรอ่างส�าหรับเก็บกักอุทกภัยเป็นการ
เหลือใช้จากพื้นที่ชลประทานตอนบน (Return flow) (ถ้ามี) ถ้ายัง ชั่วคราว (Flood surcharge storage) และในอนาคตถ้าเกิดอุทกภัย
ไม่เพียงพอจึงจะใช้ปริมาณน�้าที่ไม่สามารถควบคุมได้ (Side flow เช่นปี พ.ศ. 2554 ขึ้นมาอีกคาดว่าจะสามารถลดปริมาณน�้าท่วมสูง
หรือ Uncontrol flow) และถ้ายังไม่เพียงพอจึงจะใช้น�้าจากอ่าง (Peak flood) ท้ายอ่างเก็บน�้าเขื่อนสิริกิติ์ได้ไม่น้อยกว่า 300
เก็บน�้า กับมาตรการในการปรับปรุงระบบส่งน�้าให้สามารถส่งน�้า ลบ.ม.ต่อวินาที และ 200 ลบ.ม.ต่อวินาที ทั้งท้ายอ่างเก็บน�้า
ได้อย่างเพียงพอและทั่วถึง ซึ่งด�าเนินการโดยใช้มาตรการไม่ใช้ เขื่อนแควน้อยและเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ตามล�าดับ
สิ่งก่อสร้าง ถ้ายังไม่เพียงพอจึงตามมาด้วยมาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง
16 วิศวกรรมสาร
ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566