Page 40 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 40

อธิบายกลไกการเกิดเหตุการณ์คานคอนกรีตอัดแรงหน้าตัด                                                                                                                                    อธิบายกลไกการเกิดเหตุการณ์คานคอนกรีตอัดแรงหน้าตัด
            รูปตัวไอบนสะพานกลับรถ ถนนพระรามที่ 2 หลักกิโลเมตรที่ 34 พลิกหล่นใส่รถที่สัญจรด้านล่าง                                                                         รูปตัวไอบนสะพานกลับรถ ถนนพระรามที่ 2 หลักกิโลเมตรที่ 34 พลิกหล่นใส่รถที่สัญจรด้านล่าง


























                       รูปที่ 9 ผังโครงสร้างในบริเวณที่มีการพลิกล้มและตกของคาน




















                   รูปที่ 10 ภาพตัดระบบพื้นสะพานก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ล้มพลิกของคาน






            ส�าหรับสมดุลของโครงสร้างภายหลังจากที่ได้สกัดคอนกรีตพื้นออกได้ถูกอธิบายไว้  น่าจะท�าให้คาดเดาได้ว่าในระหว่างก่อนที่
          ดังรูปที่ 11 โดยสมดุลนี้ประกอบไปด้วยโมเมนต์สองตัวคือ โมเมนต์ที่ก่อให้เกิดการพลิกล้ม  จะเกิดการพลิกล้ม เหล็กเสริมพื้นทั้งสอง
          (Driving Moment) ซึ่งเกิดจากการที่จุดศูนย์กลางมวลของ คานคอนกรีตอัดแรงหน้าตัด  เส้นจะต้องมีความตึงมากในระดับที่สามารถ
          รูปตัวไอซึ่งยังยึดติดเป็นชิ้นเดียวกันกับแผ่นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีการยื่นออกไปทาง  เห็นได้ชัดเจน ส�าหรับภาพเหตุการณ์ที่ถูก
          ซ้ายมือ รวมถึงแผ่นผนังคอนกรีตกันตกอยู่บริเวณปลายพื้นยื่น มีต�าแหน่งที่ค่อนออกไปทาง  บันทึกด้วยกล้องวีดีโอหน้ารถ ก็ให้ข้อมูล

          ซ้ายมือ ซึ่งจะเกิดลักษณะของการเยื้องศูนย์ของแรงคู่ปฏิกิริยา ก่อให้เกิดโมเมนต์ในทิศทาง  ที่มีความสอดคล้องกับค�าอธิบายในที่นี้
          ทวนเข็มนาฬิกา                                                         กล่าวคือ ได้มีการเห็นประกายไฟบริเวณ
            ในทางกลับกัน ด้วยวัสดุเท่าที่มีอยู่ภายหลังจากการสกัดรื้อคอนกรีตพื้นออก จะประกอบ  ด้านบน บริเวณที่ท�าการรื้อถอนก่อนที่
          ไปด้วยเหล็กเสริมพื้นทั้งเหล็กบน และเหล็กล่าง และคานขวางส�าหรับสร้างเสถียรภาพ  คานจะพลิกล้มตกลงมา ซึ่งประกายไฟ
          ตัวกลาง (Intermediated Diaphragm) ส�าหรับคานขวางบริเวณปลายคานคอนกรีตอัดแรง  ดังกล่าวน่าจะเกิดจากการใช้เปลวไฟจาก

          นั้น มีระยะ Moment Arm ที่น้อยมากจนไม่น่าจะสร้างก�าลังต้านทานที่มีนัยยะได้ โดยเหล็ก  แก๊สตัดเหล็กเสริม ซึ่งเป็นกลไกสุดท้ายที่
          เสริมในพื้นทั้งเส้นบนและเส้นล่างจะออกแรงดึงไปทางขวามือเพื่อรั้งการหมุนไว้ ก่อให้เกิด  รักษาโครงสร้างไว้ไม่ให้เกิดการเคลื่อนที่
          แรงปฏิกิริยาต่อแรงดึงดังกล่าวในรูปแบบแรงอัดที่ผลัก Intermediate Diaphragm ไปทาง
          ด้านซ้าย ก่อให้เกิดโมเมนต์ซึ่งต้านทานการพลิกล้ม จากสภาวะในทางกลศาสตร์ดังกล่าว


          40 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45