Page 42 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 42
อธิบายกลไกการเกิดเหตุการณ์คานคอนกรีตอัดแรงหน้าตัด
รูปตัวไอบนสะพานกลับรถ ถนนพระรามที่ 2 หลักกิโลเมตรที่ 34 พลิกหล่นใส่รถที่สัญจรด้านล่าง
เกิดผลของ Secondary Moment อันเนื่องมาจากการที่ระยะ - ระบบให้แรงดึงเพื่อให้เกิดสมดุลกับโมเมนต์
เยื้องศูนย์เพิ่มขึ้น (Second-order Effect) โดยรูปแบบการยึดรั้ง พลิกคว�่านั้น จะใช้แท่งเหล็กส�าหรับงานคอนกรีต
ที่จะมีประสิทธิภาพสูงที่สุด ได้น�าเสนอไว้ในรูปที่ 13 โดยจะมีการ อัดแรง (PT Bar) โดยควรจะต้องท�าการใส่แรง
สร้างระบบการต้านทานการหมุนที่ซ�้าซ้อน (Redundancy System) ให้โครงสร้างได้ก่อนที่จะด�าเนินการตัด (Preloading)
ขึ้นมา เพื่อป้องกันการเกิดเหตุในกรณีที่ระบบหลักเกิดความเสียหาย เพื่อให้มั่นใจว่าระบบดังกล่าวจะท�างานได้ทันที
หรือไม่ท�างานตามที่ได้ออกแบบไว้ เมื่อโครงสร้างพื้นถูกรื้อออกโดยสมบูรณ์
รูปที่ 13 แนวทางยึดรั้ง (Bracing) โครงสร้างก่อนที่จะด�าเนินการรื้อถอนพื้น
ประวัติผู้เขียนบทความ
ดร.ปั้นเจตน์ ธรรมรักษ์
การศึกษา
วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เกียรตินิยมอันดับ 1, เหรียญทอง) พ.ศ. 2543
ระดับปริญญาเอกสาขาวิศวกรรมโครงสร้างที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐเทกซัส ณ เมืองออสติน
(The University of Texas at Austin) พ.ศ. 2552
งานวิจัย
Structural Dynamics Structural Health Monitoring
Precast Concrete Structures Seismic Energy Dissipator
ต�าแหน่งปัจจุบัน
อาจารย์พิเศษสาขาวิศวกรรมโครงสร้างที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
กรรมการผู้จัดการ บริษัท เรโซลูชั่น เอนยิเนียริ่ง จ�ากัด
42 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565