Page 56 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 56

เทคโนโลยี 5G และการทดสอบภายในประเทศ


              ที่มาของโครงการจัดตั้งศูนย์ทดสอบ 5G                            นอกจากนี้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ด�าเนิน
                                                                           การขอต่อ กสทช. เพื่อเป็นผู้ประสานพื้นที่ก�ากับ

            สืบเนื่องจากการที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ           ดูแลเป็นการเฉพาะ (Sandbox) ส�าหรับการ
          โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้ลงนามความ         ทดสอบใช้คลื่นความถี่ 5G ย่านต่าง ๆ เพื่อให้มีการ
          ร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการ           พัฒนาและทดสอบนวัตกรรมเทคโนโลยี 5G ซึ่งเป็น
          จัดตั้งศูนย์ทดสอบ 5G เตรียมพร้อมรองรับการให้บริการโทรคมนาคม      เทคโนโลยีใหม่ รวมถึงการทดสอบการรบกวนกัน
          ยุคใหม่ วางเป็นแพลตฟอร์มเปิดส�าหรับทดสอบ/ทดลอง/วิจัย             หรือการร่วมใช้คลื่นความถี่ระหว่างเทคโนโลยี 4G
          เทคโนโลยีส�าหรับการใช้งานจริง พร้อมกับท�าการพัฒนาบุคลากร         และ 5G เป็นต้น โดยได้รับอนุญาตเป็นระยะเวลา

          รองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเกี่ยวกับ  5G              5 ปี ตั้งแต่วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ถึงวัน
          ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นเวลา 2 ปี ตั้งแต่วันที่ 11 ธันวาคม   ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2567 โดยครอบคลุมพื้นที่
          พ.ศ. 2561 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงจัดให้มีการจัดตั้ง “5G AI/     ดังแสดงในรูปที่ 1
          IoT Innovation Center” บนพื้นที่ชั้นลอย อาคารจุฬาพัฒน์ 14          ส�าหรับคลื่นความถี่ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้งาน
          จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติการทดสอบ 5G มีการ     ในพื้นที่ 5G sandbox มี 8 ย่านความถี่ ดังนี้

          ติดตั้งอุปกรณ์สถานีฐานของโครงข่าย 5G โดยได้รับความร่วมมือ        1.  ย่านความถี่ 700 MHz (703-803 MHz)
          จากผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ผู้ผลิตอุปกรณ์โทรคมนาคม และ    2.  ย่านความถี่ 900 MHz (920-925 MHz)
          ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส   3.  ย่านความถี่ 2500 MHz (2500-2690 MHz)
          จ�ากัด (มหาชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด (มหาชน) บริษัท อีริคสัน    4.  ย่านความถี่ C-Band (3300-3800 MHz)
          (ประเทศไทย) จ�ากัด และบริษัท หัวเว่ยเทคโนโลยี่ (ประเทศไทย)       5.  ย่านความถี่ 5 GHz (5850-5925 MHz)
          จ�ากัด ทั้งนี้ เมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้ว จึงย้ายที่ท�าการศูนย์ 5G    6.  ย่านความถี่ 26 GHz (24.25-27.00 GHz)
          AI/IoT Innovation Center กลับไปยัง “ห้องปฏิบัติการไฟฟ้า          7.  ย่านความถี่ 28 GHz (27.00-29.50 GHz)

          สื่อสาร” ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ชั้น 13 อาคารเจริญวิศวกรรม         8.  ย่านความถี่ Millimeter Wave (57-76 GHz
          คณะวิศวกรรมศาสตร์  จุฬาฯ  โดยนักวิจัยในโครงการจัดตั้ง            และ 81-86 GHz)
          ศูนย์ทดสอบ 5G ยังคงด�าเนินการวิจัยอย่างต่อเนื่อง                   ทั้งนี้ ในการทดสอบหลัก ๆ จะทดสอบส�าหรับ
                                                                           คลื่นความถี่ย่าน Sub-6 GHz (700, 2600, 350
                                                                           เมกะเฮิรตซ์) และ mmWave (26 และ 28
                                                                           กิกะเฮิรตซ์) ตามคุณสมบัติของอุปกรณ์ที่จัดซื้อ
                                                                             ส�าหรับการทดสอบเทคโนโลยีต่าง ๆ กับ
                                                                           โครงข่าย 5G ได้แก่ การส่งข้อมูลภาพการตรวจ

                                                                           โรคตาทางไกลผ่านระบบสื่อสารแบบไร้สายเพื่อ
                                                                           การผ่าตัด งานหุ่นยนต์ทางการแพทย์ที่ใช้ใน
                                                                           การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
                                                                           การส่งข้อมูลสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์
                                                                           ส�าหรับการแพทย์แบบทางไกล การถ่ายโอนข้อมูล
                                                                           ภาพถ่ายรังสีทางการแพทย์ (PACS) ผ่านโครงข่าย

                                                                           5G การพัฒนาการสื่อสารและส่งถ่ายข้อมูลการ
                                                                           ตรวจวัดคุณภาพอากาศในโรงพยาบาล การพัฒนา
                                                                           ระบบและอุปกรณ์ตรวจวัดมลพิษทางอากาศแบบ
                 รูปที่ 1 พื้นที่ 5G sandbox ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย





          56 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61