Page 58 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 58
เทคโนโลยี 5G และการทดสอบภายในประเทศ
ในส่วนของการเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน
(อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จ�าเป็น) เพื่อรองรับการ เอกสารอ้างอิง
สร้างโครงข่าย 5G ขนาดเล็กมาก (ทางยุโรป
เรียกว่า Private network หรือทางญี่ปุ่น รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G ส่งให้
เรียกว่า Local 5G หรือ Micro-operator) ส�านักงาน กสทช. โดย ดร.สุพจน์ เธียรวุฒิและคณะ เดือนพฤศจิกายน
เพื่อเป็นต้นแบบส�าคัญในการพัฒนารูปแบบ พ.ศ. 2563
การก�ากับดูแล กิจการระบบโทรศัพท์
เคลื่อนที่ในยุค 5G ที่จะมีผู้ประกอบการ
ขนาดเล็กมากคู่ขนานกับการมีผู้ประกอบการ
ขนาดใหญ่นั้น หลังจากท�าการประเมินด้าน
ราคาแล้วพบว่า การเป็นผู้ให้บริการโครง
ข่าย 5G ขนาดเล็กมาก ยังต้องใช้เงินลงทุน
ที่สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับการวางโครง
ข่ายระดับ Enterprise ต้องใช้เวลานานกว่า
จะถึงจุดคุ้มทุน ดังนั้นแนวโน้มการเกิดโครง
ข่ายขนาดเล็กมากจึงมีความเป็นไปได้ยาก 2 3
ในประเทศไทย
สุดท้ายนี้ โครงการจัดตั้งศูนย์ทดลอง
ทดสอบ 5G นี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ
จากกองทุนวิจัยและพัฒนา กิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม
เพื่อประโยชน์สาธารณะ (กองทุน กทปส.)
ภายใต้การดูแลของ กสทช. ที่เล็งเห็น 4 5
ความส�าคัญของการพัฒนาบุคลากรและ
การวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยี 5G และ
เป็นจุดเริ่มต้นให้นักวิจัยสามารถพัฒนา รูปที่ 2 พิธีเปิดในงาน 5G for Real
ต่อยอดงานวิจัยที่ท�าการทดสอบเทคโนโลยี รูปที่ 3 คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์
บนโครงข่าย 5G ต่อไป นักวิจัยของโครงการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในงาน
ทุกคนขอขอบคุณ กองทุน กทปส. ผู้ให้บริการ 5G for Real
รูปที่ 4 การแสดงผลงานในงาน 5G for Real
โทรศัพท์เคลื่อนที่ (operator) ทุกองค์กร รูปที่ 5 ภาพบรรยากาศในงาน 5G for Real
และผู้ผลิตอุปกรณ์ระบบโทรคมนาคมชั้นน�า 6 รูปที่ 6 ภาพบรรยากาศในงาน 5G for Real
ส�าหรับการสนับสนุนในทุก ๆ ด้าน
รศ.ดร.นิศาชล ตั้งเสงี่ยมวิสัย
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
58 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565