Page 57 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 57

เทคโนโลยี 5G และการทดสอบภายในประเทศ


            เวลาจริง (5G-MegaSense) ติดตั้งบนรถโดยสารภายในจุฬาฯ ผ่าน  ประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ
            การแสดงผลบนระบบเก็บข้อมูลที่โครงการพัฒนาขึ้น การพัฒนา  กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ร่วมกันเป็นประธานในงาน และยังได้
            ต้นแบบยานยนต์อัตโนมัติส�าหรับรถแบ่งปันกันใช้ การใช้สัญญาณ  รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ผู้ผลิตอุปกรณ์โทรคนนา
            5G ในการควบคุมโดรนและหุ่นยนต์บริการ เป็นต้น          คม ผู้ให้บริการโทรคมนาคมทั้งในและต่างประเทศ รวมถึง Ministry
              เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2563 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับ   of Internal Affairs and Communications (MIC) จากประเทศ

            กสทช. ได้ร่วมกันจัดงาน “5G For Real” ขึ้นเพื่อเป็นการ  ญี่ปุ่นร่วมบรรยายและจัดนิทรรศการด้วย (ดังแสดงในรูปที่ 2 ถึง 6)
            ประชาสัมพันธ์การด�าเนินงานของศูนย์ทดสอบฯ และเพื่อเผยแพร่  ภายใต้ระยะเวลา 1 ปีของโครงการ คณะผู้วิจัยในโครงการนี้
            งานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน use cases ด้วยเทคโนโลยี  มีข้อคิดเห็นว่า กสทช. ควรศึกษาความเหมาะสมในการจัดท�าเป็น
            5G งานนี้ได้รับเกียรติจากอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ  นโยบายส�าหรับการยกระดับการให้บริการ 5G ดังต่อไปนี้






                   จัดท�ามาตรฐานทางเทคนิค ส�าหรับผู้ให้บริการโครงข่าย 5G ในประเทศไทย เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค โดยเน้นคุณสมบัติ 3 ด้านหลัก
                  ของโครงข่าย 5G ได้แก่
                    1. eMBB -- ความเร็วในการส่งข้อมูลมัลติมีเดีย
                    2. uRLLC -- ความหน่วงเวลา
                    3. mMTC – ความสามารถในการเชื่อมต่ออุปกรณ์จ�านวนมากในพื้นที่เดียวกัน เพื่อการให้บริการที่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วทั้ง
                      ประเทศไทย

                   จัดท�านโยบาย หรือแนวปฏิบัติส�าหรับผู้ประกอบการขนาดต่าง ๆ เพื่อให้เกิด business model ในการน�า use cases มาให้
                  บริการเชิงพาณิชย์ในอนาคต อาทิ

                       smart farming การใช้เทคโนโลยี 5G ส�าหรับการเกษตร

                       smart transportation / seamless mobility for public transport การเชื่อมต่อด้านการคมนาคม การเดินทางโดย
                      รถสาธารณะที่มีข้อมูลการเดินทางที่แม่นย�าและถูกต้องให้แก่ประชาชน หรือการใช้เทคโนโลยี 5G ส�าหรับรถยนต์เคลื่อนที่
                      อัตโนมัติเพื่อความสะดวกสบายในการให้บริการ เป็นต้น

                       smart cities การดูแลรักษาความปลอดภัยในเมืองหลัก เช่น กรุงเทพฯ
                       digital healthcare / healthcare delivery การให้บริการด้านสุขภาพโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย อย่างครอบคลุม

                      และทั่วถึงให้แก่ผู้ป่วย

                       digital learning การเรียนการสอนแบบดิจิทัล ด้วยเทคโนโลยีโลกเสมือน
                   บังคับดูแลให้มีผู้ให้บริการโครงข่าย 5G ให้ครอบคลุมในประเทศไทยอย่างทั่วถึง เพื่อประโยชน์ของผู้บริโภค


























                                                                                  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565  วิศวกรรมสาร  57
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62