Page 112 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 112
การดูแล และบำารุงรักษาแผงสวิตช์แรงตำ่า ตอนจบ
ตู้สวิตช์ สวิตช์ใบมีด ฟิวส์ และฉนวน
การตรวจสอบและบ�ารุงรักษาตู้สวิตช์ มีดังนี้ ในระบบจ่ายไฟฟ้าแรงต�่าประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องปลดวงจร
ปิดวงจรไฟฟ้าและต่อบัสบาร์ลงดิน ดูดฝุ่น ฟิวส์ ลูกถ้วย กับดักฟ้าผ่า รวมทั้งหม้อแปลง เซอร์กิตเบรกเกอร์และอุปกรณ์อื่น
ท�าความสะอาดบัสบาร์ ฉนวน สายไฟฟ้า และอื่น ๆ ที่ท�าหน้าที่คล้ายกัน ข้อแนะน�าส�าหรับความถี่ในการบ�ารุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าจะ
ตรวจหาความเสียหายจากความร้อนเกิน ขึ้นกับสภาวะแวดล้อม อุปกรณ์ที่อยู่ในพื้นที่สกปรก เปียก และบรรยากาศที่เกิด
ขั้นจุดต่อทั้งหมดให้แน่นอีกครั้ง รวมทั้งตัวยึดบัสบาร์ การกัดกร่อน จะต้องการการบ�ารุงรักษามากกว่าในพื้นที่ทั่วไป
ด้วย
ตรวจสอบการจัดให้ถูกต�าแหน่ง และความแน่น
หนาของสวิตช์ใบมีด พร้อมตรวจหาร่องรอยความ สวิตช์ใบมีด
เสียหายของหน้าสัมผัส
ท�าความสะอาดและหล่อลื่นของกลไกการ สวิตช์ใบมีดมีหลายพิกัดและขนาด โดยปกติในการบ�ารุงรักษาประจ�าจะต้อง
draw-out ตรวจการท�างานของกลไกอินเตอร์ล็อก ไม่มีไฟ แต่ในการบ�ารุงรักษาจะต้องท�าด้วยความระมัดระวัง การบ�ารุงรักษา
ของ shutter และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ สวิตช์ใบมีด ด�าเนินการดังนี้
ท�าความสะอาดช่องระบายอากาศทั้งหมด
สับปลดสวิตช์หลาย ๆ ครั้งเพื่อให้มั่นใจว่าใบมีดสับเข้าที่ได้มั่นคงและ
หลังจากตรวจท�าความสะอาดแล้ว ให้ทดสอบ
แน่นหนา สัมผัสได้เต็ม ปรับตั้งตามความจ�าเป็นตามที่แนะน�าในคู่มือของผู้ผลิต
ค่าความต้านทานฉนวน วัดค่าระหว่างเฟสกับดินของ
ตรวจหาร่อยรอยการไหม้ของหน้าสัมผัส ตรวจรอยขรุขระ แรงกด และการ
แต่ละบัส และระหว่างเฟสกับเฟส ทั้งหมด เปรียบเทียบ จัดให้ถูกต�าแหน่ง และตรวจ arcing horns (ถ้ามี) ว่ามีรอยไหม้เกินที่ก�าหนด
ค่าที่ได้จากผู้ผลิต หรือถ้าไม่มีข้อมูลจากผู้ผลิตให้ หรือไม่ ถ้าพบการช�ารุดเพียงเล็กน้อยให้ปรับแต่งหน้าสัมผัสด้วยกระดาษทราย
เปรียบเทียบ กับค่าในครั้งก่อนเพื่อหาแนวโน้มของ ถ้าพบความเสียหายมากให้เปลี่ยนใหม่
ตรวจสอบกลไกเชื่อมโยงต่าง ๆ ว่าหลวม หลุด งอ หรือช�ารุดหรือไม่
การเสื่อมสภาพ (ดูรายละเอียดในตอนท้าย)
ซ่อมจุดที่เสียหาย ถ้ามีสนิมให้ขจัดออกให้หมด
ตรวจสอบอุปกรณ์อินเตอร์ล็อกทั้งหมด
พร้อมทาสีให้เรียบร้อย
ตรวจสภาพผิดปกติทั่วไป เช่น รอยแตกหรือบิ่นของลูกถ้วย
ตรวจวัดความร้อนจุดต่อสายและจุดต่อบัสบาร์
กรณีที่เกิดกระแสลัดวงจรรุนแรง ให้ตรวจสอบอย่างละเอียดเพิ่มเติมอีกครั้ง
ตรวจวัดความร้อน (ตรวจวัดขณะที่จ่ายโหลด)
(ตรวจวัดขณะที่จ่ายโหลด)
112
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564