Page 115 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 115

การดูแล และบำารุงรักษาแผงสวิตช์แรงตำ่า ตอนจบ


                                                                   การวัดค่าความต้านทานฉนวนของเบรกเกอร์ทุกแบบท�าได้
                                                                 โดยใช้เมกโอห์มมิเตอร์ ปกติการวัดเซอร์กิตเบรกเกอร์แรงต�่าจะใช้
                                                                 แรงดันกระแสตรง 500 โวลต์ เพื่อหาค่าเป็นเมกโอห์ม การทดสอบนี้
                                                                 ไม่ได้แสดงคุณภาพพื้นฐานของฉนวน ในการวัดมีองค์ประกอบอื่น

                                                                 ที่ต้องพิจารณาอีกหลายอย่างเช่น
                                                                     การทดสอบนี้อาจได้ค่าต�่าเนื่องจากมีการขนานกันของความ
                                                                  Ÿ
                                                                 ต้านทาน ตัวอย่าง ลูกถ้วยรองรับบัสบาร์ เป็นต้น
                                                                     ฉนวนที่มี dielectric strength ต�่า อาจได้ค่าความต้านทานสูง
                                                                  Ÿ
                                                                     มีตัวแปรอื่นที่ต้องพิจารณาและมีผลต่อค่าที่วัดได้อีกคือ
                                                                  Ÿ
                                                                 อุณหภูมิและความชื้น

                                                                   จากเหตุผลดังกล่าว การวัดค่าจึงใช้เพื่อการเปรียบเทียบเท่านั้น
                         รูปตัวอย่างการวัดความร้อนที่ขั้วฟิวส์   ไม่ได้บอกคุณภาพของฉนวน ในการทดสอบควรปลดวงจรของ
                                                                 อุปกรณ์อื่นที่ต่ออยู่ออกให้หมด การทดสอบท�าทั้งในต�าแหน่ง
            การทดสอบค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า                         ปลดและสับ การทดสอบบัสของสวิตช์เกียร์จะทดสอบแต่ละเฟส
                                                                 เทียบกับดินในขณะที่สองเฟสที่เหลือต่อลงดิน

              การทดสอบค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้าเป็นเรื่องจ�าเป็น เพื่อ
            ป้องกันไฟฟ้าดูด ไฟฟ้าลัดวงจร และไฟฟ้ารั่ว ทั้งนี้ก็เพื่อความมั่นใจ
            ในการป้องกันอันตรายต่อบุคคล และลดเวลาการเกิดไฟฟ้าขัดข้อง
            การทดสอบจะช่วยการตรวจหาการเสื่อมสภาพของฉนวนไฟฟ้าท�าให้
            สามารถวางโปรแกรมการบ�ารุงรักษา เช่น การดูดฝุ่นท�าความสะอาด                                   จุดนี้ค่าความ

            การท�าความสะอาดด้วยการล้าง การท�าให้แห้ง เป็นต้น การทดสอบ                                    ต้านทานฉนวน
            ยังเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์คุณภาพของการซ่อมบ�ารุงก่อนที่จะ   ค่าความต้านทาน (เมกโอห์ม)     ลดลงมาก ควร
            น�าอุปกรณ์กลับไปใช้งานต่อ ก่อนการวัดค่าความเป็นฉนวนของ                                       มีการตรวจสอบ
                                                                                                         เพิ่มเติม
            แผงสวิตช์ควรท�าความสะอาดเสียก่อนเพื่อให้ได้ค่าที่ดีที่สุด
              สาเหตุของฉนวนไฟฟ้าช�ารุดส่วนใหญ่เกิดจากความร้อนสูงเกิน

            ความชื้น ความสกปรก การกัดกร่อนจากไอสารเคมีต่าง ๆ น�้ามัน   ตัวอย่างกราฟประวัติการวัดค่าความต้านทานฉนวนในแต่ละช่วงเวลา
            การสั่นสะเทือน และอายุการใช้งาน ถ้าตรวจพบฉนวนช�ารุดควรหา
            สาเหตุให้ได้ เพราะหลายสาเหตุสามารถป้องกันได้








                                                                   การวัดค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้ามีหลายวิธี ผู้ใช้งานต้อศึกษาวิธีการ
                                                                 ข้อดี ข้อด้อย และข้อจ�ากัดของแต่ละวิธี เพื่อจะได้วิเคราะห์ค่าได้
                                                                 ถูกต้อง วิธีที่ใช้กันทั่วไปคือ short time reading, time-resistance
                                                                 และ polarization index รายละเอียดแต่ละวิธีจะหาโอกาสมาเล่า

                                                                 ให้ฟังครับ จากตัวอย่างในรูปข้างบน เป็นวิธี short time reading









                                                                                                             115
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120