Page 111 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 111
การดูแล และบำารุงรักษาแผงสวิตช์แรงตำ่า ตอนจบ
เซอร์กิตเบรกเกอร์กำาลัง
(Power circuit breaker) โมลเคสเซอร์กิตเบรกเกอร์
(Molded case circuit breaker)
เซอร์กิตเบรกเกอร์ระบบแรงต�่า ต้องมีการตรวจสอบ
และบ�ารุงรักษาประจ�าปีเช่นเดียวกับในระบบแรงดันกลาง การบ�ารุงรักษาโมลเคสเซอร์กิตเบรกเกอร์ประกอบด้วย การตรวจ
(medium voltage) ยิ่งกว่านั้นหลังจากที่เซอร์กิตเบรกเกอร์ เซอร์กิตเบรกเกอร์ การจับยึด และการต่อทางไฟฟ้า การตรวจสอบ
ตัดกระแสลัดวงจรค่าสูง ๆ แล้ว ก็จะต้องมีการบ�ารุงรักษา แนะน�าให้ท�าตามขั้นตอนต่อไปนี้
ท�าความสะอาดภายนอกทั้งหมดเพื่อให้การระบายอากาศดี
อีกด้วย ในการบ�ารุงรักษาให้ถอดเซอร์กิตเบรกเกอร์ออกจากตู้
ตรวจหารอยแตกร้าวภายนอกตัวเซอร์กิตเบรกเกอร์ให้ทั่ว
และด�าเนินการดังนี้
ตรวจหาจุดต่อที่หลุดหลวม และขันให้แน่นขั้วต่อสายของเซอร์กิต
ตรวจสอบการจัดให้ถูกต�าแหน่ง (alignment) ของหน้า
สัมผัสตัวที่เคลื่อนที่และตัวที่อยู่กับที่ ท�าการปรับแต่งตาม เบรกเกอร์และจุดต่อบัสบาร์ การขันขั้วต่อสายควรใช้แรงตามค�าแนะน�า
ค�าแนะน�าของผู้ผลิต ห้ามขัดปลายหน้าสัมผัสโดยไม่จ�าเป็น ของผู้ผลิต
ท�าการสับ-ปลดเซอร์กิตเบรกเกอร์ด้วยมือเพื่อให้การท�างานคล่องตัว
ส�าหรับหน้าสัมผัสชนิดเคลือบเงิน (silver plated) ห้ามขัด
ตรวจสอบความชื้นที่อาจเป็นสาเหตุของความสกปรกและจะเกิด
โดยเด็ดขาด ถ้าพบว่าหน้าสัมผัสช�ารุดควรเปลี่ยนใหม่
เช็ดท�าความสะอาดบุชชิง แผงกั้น และส่วนที่เป็นฉนวน
กระแสรั่วที่ฉนวน
ตรวจหาจุดที่อาจมีความร้อนสูงตามขั้วต่อสายต่าง ๆ หรือจาก
ก�าจัดฝุ่น คราบควัน และสิ่งสกปรกออกให้หมด
ตรวจสอบรางดับอาร์กหาร่องรอยการช�ารุด และท�า
ความต้านทานสูงของหน้าสัมผัส หรือจากการระบายอากาศไม่ดีพอ
ความสะอาดฝุ่น ถ้าพบส่วนที่ช�ารุดให้เปลี่ยนใหม่ ซึ่งอาจตรวจเห็นได้ด้วยสายตา หรือด้วยเครื่องมือวัด
วัดค่าความต้านทานหน้าสัมผัสตามวิธีที่กล่าวในตอนท้าย
ตรวจการแตกหัก การหลุดหลวม ของกลไกการท�างาน
ตรวจวัดความร้อน (ตรวจวัดขณะที่จ่ายโหลด)
ต่าง ๆ ท�าความสะอาดพร้อมใส่สารหล่อลื่นตามความจ�าเป็น
สารหล่อลื่นต้องเป็นชนิดที่ไม่แข็งตัว (ไม่แห้ง) ปรับแต่งกลไก
ตามความจ�าเป็น (ปฏิบัติตามค�าแนะน�าในคู่มือของผู้ผลิต
ประกอบ)
ตรวจสอบอุปกรณ์ควบคุมต่าง ๆ และหน้าสัมผัส หาก
พบว่าช�ารุดให้เปลี่ยนใหม่
ตรวจสอบสายไฟของวงจรควบคุมการท�างานของ
เซอร์กิตเบรกเกอร์ เพื่อให้มั่นใจว่าจุดต่อแน่น และท�าการขัน
จุดต่ออีกครั้ง
ท�าการสับและปลดเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ใช้งานมานาน
แล้วเพื่อตรวจหาจุดที่ตัดขัด หรือฝืด และท�าการแก้ไข ก่อน
จะใส่เซอร์กิตเบรกเกอร์กลับเข้าไปใช้งาน ให้ทดสอบการ
ท�างานทั้งด้วยมือและไฟฟ้าอีกครั้ง
ระหว่างท�าการตรวจสอบเซอร์กิตเบรกเกอร์ให้ท�าการ
ตรวจอุปกรณ์อื่นไปพร้อม ๆ กัน เช่น เครื่องวัด สวิตช์ รีเลย์
เป็นต้น
ตรวจหน้าสัมผัสช่วย (auxiliary contact) ให้อยู่ใน
สภาพที่ดีและยึดแน่น
วัดค่าความต้านทานหน้าสัมผัสตามวิธีที่กล่าวในตอนท้าย
ตรวจวัดความร้อน (ตรวจวัดขณะที่จ่ายโหลด)
รูปตัวอย่างการเกิดความร้อนที่ขั้วต่อสายของเซอร์กิตเบรกเกอร์
111
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564