Page 114 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 114
การดูแล และบำารุงรักษาแผงสวิตช์แรงตำ่า ตอนจบ
การตรวจวัดความร้อน
การตรวจวัดความร้อนของอุปกรณ์เป็นการตรวจวัดขณะที่มีไฟและควรวัดขณะที่มีโหลด
มาก ๆ การวัดความร้อนจะวัดไปตามส่วนที่กระแสไฟฟ้าไหลในสภาวะการท�างานปกติ
การวัดจะดูความแตกต่างของอุณหภูมิที่แต่ละจุด ตรวจดูค่าอุณหภูมิที่สูงที่สุด (hot spot)
ต้องระวังความร้อนที่เกิดจากแหล่งอื่นด้วย ความร้อนอาจเกิดจาก การสะท้อนความร้อน
แสงอาทิตย์ โหลดปกติ กระแสเหนี่ยวน�าท�าให้เกิดความร้อน ปัจจัยที่มีผลต่อการวัดเช่น
ลม ฝน สนามแม่เหล็กที่มีความเข้มสูง ในการวัดต้องบันทึกผลไว้เพื่อตรวจสอบความเสียหาย
และเปรียบเทียบกับค่าในอนาคต
รูปตัวอย่างกล้องถ่ายภาพความร้อนด้วยแสงอินฟราเรด
ตำรำงอุณหภูมิแสดงควำมจ�ำเป็นของอุปกรณ์ไฟฟ้ำที่ต้องบ�ำรุงรักษำ
อุณหภูมิเพิ่ม C
O
ความหมาย เป็นต้น ข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้จะได้จากผู้ผลิต
0-10 อุปกรณ์ หรือที่ก�าหนดโดยมาตรฐานอุปกรณ์
ควรมีการตรวจสอบซำ้าในโอกาสต่อไป ตรวจดูโหลดด้วย
การวัดความร้อนด้วยเครื่องวัดชนิดแสง
อินฟราเรด ตามที่กล่าวข้างต้นเป็นการวัดที่
10-20 ไม่ต้องสัมผัสกับอุปกรณ์ไฟฟ้า จึงปลอดภัย
ควรตรวจซำ้าก่อนโปรแกรมการตรวจครั้งต่อไป
(ก่อนเวลาที่กำาหนด) และมีประโยชน์มากในการตรวจสอบระบบ
ไฟฟ้า เพราะสามารถท�ากาวัดได้ขณะจ่ายไฟ
20-30 ต้องมีการบำารุงรักษาโดยพิจารณาความสำาคัญของอุปกรณ์ และไม่มีอันตรายถ้าผู้ที่ท�าการวัดอยู่ในระยะ
ชนิดของอุปกรณ์ว่าสามารถ Overload ได้มากน้อยเพียงใด ห่างที่เหมาะสม
และความสำาคัญของโหลดที่อุปกรณ์จ่ายอยู่ประกอบ
30 ขึ้นไป
ต้องการการบำารุงรักษาด่วนที่สุด
Standards-Based Temperature Rating System โดยการเปรียบเทียบค่าที่วัดได้
กับค่ามาตรฐาน มีหลายหน่วยงานที่ท�า Standard temperature ออกมาเปลี่ยนแปลงตาม
ชนิดของอุปกรณ์และอุณหภูมิแวดล้อม อุณหภูมิสูงสุดของอุปกรณ์ประด้วยอุณหภูมิแวดล้อม
บวกกับอุณหภูมิเพิ่มของอุปกรณ์เช่น สายไฟฟ้า PVC ที่อุณหภูมิโดยรอบ 40 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิเพิ่ม 30 องศาเซลเซียส รวมเป็นอุณหภูมิใช้งานสูงสุดเท่ากับ 70 องศาเซลเซียส
114
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564