Page 57 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 57
สรุปความ ปาฐกถาพิเศษ อนาคตโครงข่ายคมนาคมของประเทศไทย
2. บริบทยุทธศาสตร์การพัฒนา
กระทรวงคมนาคมมีเป้าหมายเพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติด้านการเพิ่มขีดความ โดยมีรายละเอียดดังนี้
สามรถในการแข่งขัน ซึ่งกระทรวงมีหน้าที่หลัก คือ การขนส่งสินค้า ทั้งสินค้าเกษตรและ ด้านที่หนึ่ง การขนส่งที่มีประสิทธิภาพ
อุตสาหกรรม และการเคลื่อนย้ายคน ทั้งประชาชนทั่วไป และนักท่องเที่ยว เพื่อให้สามารถ (Efficient Transport) ยกตัวอย่าง การคมนาคม
เดินทางจากต้นทางไปยังปลายทางได้โดย เน้นหลักการ “สะดวก ปลอดภัย ตรงเวลา และ ขนส่งทางบก แบ่งเป็น การขนส่งในเมือง
ราคาสมเหตุสมผล” ผ่านการขนส่งทางราง ทางถนน ทางอากาศ และทางน�้า (Urban Transport) และการขนส่งระหว่าง
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคมระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ประกอบด้วย เมือง (Intercity Transport) ดังนี้
การพัฒนา 3 ด้าน คือ การขนส่งที่มีประสิทธิภาพ การขนส่งที่ปลอดภัยและเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม และการขนส่งที่เข้าถึงได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียม โดยทั้ง 3 ด้านการพัฒนานี้ การขนส่งในเมือง
จะเชื่อมโยงกันด้วยนวัตกรรมและการจัดการ (Innovation and Management) (Urban Transport)
ในอดีตมีปัญหาในการเดินทางในเมือง
เนื่องจากการเดินทางด้วยระบบขนส่ง
สาธารณะไม่สะดวก ประชาชนจึงพึ่งพา
การใช้รถส่วนบุคคลผ่านเข้าไปเมือง
จ�านวนมาก ท�าให้เกิดการจราจรติดขัด
มลพิษทางอากาศ และการใช้พลังงานไม่มี
ประสิทธิภาพ ซึ่งในอนาคต กระทรวง
คมนาคมได้วางเป้าหมายเพื่อเปลี่ยน
พฤติกรรมการเดินทางของประชาชนจาก
การใช้รถยนต์ส่วนบุคคลไปพึ่งพาการใช้
ระบบราง อาทิ เช่น รถไฟฟ้า ที่มีมีความ
สะดวก ปลอดภัย และตรงเวลามากขึ้น
การขนส่งระหว่างเมือง
(Intercity Transport)
ในอดีตมีปัญหาในการขนส่งสินค้า
ระหว่างเมือง ท�าให้เกิดอุบัติเหตุ มลพิษ
ทางอากาศ และต้นทุนโลจิสติกส์สูง ซึ่งใน
อนาคต กระทรวงคมนาคมได้วางเป้าหมาย
ที่ต้องการเปลี่ยนแปลงระบบการขนส่ง
จากการขนส่งทางถนนไปสู่การขนส่งทางราง
และเชื่อมต่อกับการขนส่งรูปแบบอื่น
(Intermodal Transport) โดยอาศัย
จุดรวบรวมสินค้าก่อนกระจายพื้นที่ต่าง ๆ
ต่อไป (Hub and Spoke)
57
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564