Page 58 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 58

สรุปความ ปาฐกถาพิเศษ อนาคตโครงข่ายคมนาคมของประเทศไทย

































            ทั้งนี้ ในบริบทเดียวกันที่ต้องด�าเนินการในทั้งการคมนาคมขนส่ง  ส่วนบุคคล ไปสู่การใช้ระบบขนส่งสาธารณะมากขึ้น เพื่อแก้ไข
          ทางราง น�้า และอากาศ โดยมีการเชื่อมโยงกันแบบไร้รอยต่อ   ปัญหาจราจรที่ติดขัด และลดปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นจากระบบขนส่ง
          (Seamless Transport)                                ภายใต้หลักการ “สะดวก ปลอดภัย ตรงเวลา ราคาสมเหตุสมผล”
            ด้านที่สอง  การขนส่งที่ปลอดภัยและเป็นมิตรกับ  โดยในส่วนของขนส่งมวลชนนั้น ปัจจุบันได้มีแผนในการพัฒนา
          สิ่งแวดล้อม  (Green  &  Safe) ซึ่งเป็นแนวโน้มของทั่วโลก  รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน รวม 14 เส้นทาง ระยะทางประมาณ 554
          ในปัจจุบันที่ให้ความส�าคัญการการขนส่งที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม   กิโลเมตร โดยปัจจุบันเปิดให้บริการแล้ว 9 สาย ระยะทาง 170

          เพื่อปรับรูปแบบการขนส่งไปสู่การขนส่งที่ไม่พึ่งพาเชื้อเพลิง  กิโลเมตร ขณะนี้อยู่ระหว่างการก่อสร้าง 6 สาย ระยะทาง 156
          ประเภทฟอสซิล และใช้พลังงานสะอาดในอนาคต              กิโลเมตร และเร่งรัดด�าเนินการอีก 4 สาย 93 กม. เช่น
            ด้านที่สาม  การขนส่งที่เข้าถึงได้อย่างเสมอภาคและ    (1) สายสีแดง ช่วงบางซื่อ - รังสิต และบางซื่อ - ตลิ่งชัน ระยะทาง
          เท่าเทียม (Inclusive Transport) โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทย      41.5 กิโลเมตร เปิดให้บริการปี พ.ศ.2564
          ก�าลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จึงมีความจ�าเป็นอย่างยิ่งที่ระบบการ    (2) สายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี ระยะทาง 34.5 กิโลเมตร

          ขนส่งจะต้องสามารถอ�านวยความสะดวกให้กลุ่มคนนี้  รวมถึง      เปิดให้บริการปี พ.ศ. 2565
          ผู้พิการให้สามารถเข้าสู่ระบบขนส่งได้อย่างสะดวก และมีประสิทธิภาพ    (3) สายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-ส�าโรง ระยะทาง 30.4 กิโลเมตร
                                                                  เปิดให้บริการปี พ.ศ. 2565
                                                                (4) สายสีส้ม ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ-มีนบุรี ระยะทาง 21.2 กิโลเมตร
               3. ทิศทางการพัฒนาในอนาคตของ      เปิดให้บริการปี พ.ศ. 2567
                   คมนาคมไทย                                    (5) สายสีแดง ช่วงรังสิต - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
                                                                  ตลิ่งชัน-ศาลายา และตลิ่งชัน-ศิริราช ระยะทาง 27.3 กิโลเมตร

            ทิศทางการพัฒนาในอนาคตของคมนาคมไทย  ในทุกมิติ      เปิดให้บริการปี พ.ศ. 2568
          ทั้งทางบก/ราง/น�้า/อากาศ สามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเด็นหลัก     (6) รถไฟชานเมืองสายสีแดง ช่วงบางซื่อ-หัวหมาก และบางซื่อ-
          คือ การคมนาคมในเมือง การคมนาคมระหว่างเมือง การคมนาคม      หัวล�าโพง ระยะทาง 27.5 กิโลเมตร เปิดให้บริการปี พ.ศ. 2568
          เชื่อมภูมิภาค และการคมนาคมเชื่อม Global ดังนี้        (7) สายสีส้ม (ส่วนตะวันตก) ช่วงศูนย์วัฒนธรรม-บางขุนนนท์
                                                                  ระยะทาง 13.4 กิโลเมตร เปิดให้บริการปี พ.ศ. 2569
            3.1 การคมนาคมในเมือง                                (8) รถไฟฟ้าสายสีม่วงส่วนใต้ ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ ระยะทาง

            เป้าหมายในการพัฒนาการคมนาคมในเมือง คือ การพยายาม      23.6 กิโลเมตร เปิดให้บริการ พ.ศ. 2570
          เปลี่ยนพฤติกรรมการเดินทางของพี่น้องประชาชนที่ใช้รถ


           58
                  วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63