Page 60 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 60
สรุปความ ปาฐกถาพิเศษ อนาคตโครงข่ายคมนาคมของประเทศไทย
การพัฒนาระบบการให้บริการการเดินทางแบบ Mobility as a Service (MaaS)
เป็นการวางแผนพื้นฐานการเชื่อมต่อภายแนวคิด MaaS ซึ่งเป็นการอ�านวยความสะดวก
ของการเชื่อมต่อให้เข้าถึงได้ง่ายผ่านเทคโนโลยี และสอดรับวิถีชีวิตของบุคคลในทุกรูปแบบ
อาทิ การมีระบบเรียกแท็กซี่อัจฉริยะ การมีจุดส�าหรับการใช้รถร่วมกันอย่าง Car Pool และ
Car Share การเช่ายืมจักรยานในระบบอัจฉริยะ เป็นต้น
และรถไฟชานเมืองรอบกรุงเทพมหานคร
และปริมณฑล ซึ่งประกอบไปด้วย 4 สาย คือ
สายเหนือ เชื่อมต่อไปยังจังหวัดอยุธยา สาย
ตะวันออก เชื่อมต่อไปยังจังหวัดฉะเชิงเทรา
สายตะวันตก เชื่อมไปยังจังหวัดนครปฐม
การพัฒนาจุดจอดแล้วจร Park and Ride/Commercial เป็นการอ�านวยความ และสายใต้ เชื่อมต่อไปยังจังหวัดสมุทรสาคร
สะดวกสถานที่จอดรถในบริเวณห้างสรรพสินค้า หรือจุดศูนย์รวมต่าง ๆ ในบริเวณโดยรอบ อันจะส่งผลจะท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ย่านชานเมือง เพื่อให้การเดินทางจากต้นทางมาเข้าสู่ระบบขนส่งสาธารณะเป็นไปได้โดยง่าย การพัฒนาเมืองและแหล่งที่อยู่อาศัยของ
รวมทั้งลดปริมาณรถยนต์ส่วนบุคคลที่เข้ามาถึงในตัวเมืองชั้นใน ประชาชนในโดยรอบจ�านวนมากรวมทั้ง
เป็นส่วนส�าคัญในการช่วยลดความหนาแน่น
ของประชากรของในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
อีกด้วย ชั้นใต้ดิน จะเป็นการรองรับการ
เชื่อมเข้ากับรถไฟฟ้าใต้ดิน และระบบขนส่ง
ทางรางในเมือง
นอกจากนี้ ในส่วนของพื้นที่โดยรอบ
สถานีกลางบางซื่อ ปัจจุบันกระทรวง
คมนาคมได้ด�าเนินการร่วมภายใต้กรอบ
ความร่วมมือกับองค์กรความร่วมมือระหว่าง
ประเทศแห่งญี่ปุ่น (Japan International
Cooperation Agency: JICA) โดยร่วม
มือกับบริษัท เอสอาร์ที แอสเสท จ�ากัด
(SRTA) ที่มีหน้าดูแลบริหารสินทรัพย์ของ
โดยในอนาคตการเดินทางโดยรถไฟจะมีความส�าคัญมากยิ่งขึ้นไม่แตกต่างไปจากการ การรถไฟแห่งประเทศไทย ในการวางแผน
เดินทางโดยเครื่องบิน ดังนั้น กระทรวงคมนาคมจึงได้พัฒนาสถานีกลางแห่งใหม่ขึ้นที่ การพัฒนาพื้นที่โดยรอบในลักษณะการ
บางซื่อ เพื่อที่จะเป็นจุดหมายที่ส�าคัญในการเชื่อมต่อระบบการขนส่งทางรางในระดับ พัฒนาเมืองอย่างบูรณาการแห่งแรก
ระหว่างประเทศ ทั้งระหว่างภูมิภาค และระหว่างเมือง เชื่อมโยงเข้ากับระบบราง ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย
ในเมือง (Metro) ทั้งนี้ สถานีกลางบางซื่อสามารถแบ่งรูปแบบและประเภทของสถานี ค�านึงถึงสภาพพื้นที่เดิมที่มีสวนสาธารณะ
รถไฟได้เป็น 3 ชั้น ได้แก่ ชั้นบนสุด เป็นการรองรับการเชื่อมต่อของรถไฟฟ้าความเร็วสูง และตลาดนัดสวนจตุจักร โดยมีแผนการ
ในระดับภูมิภาค และระหว่างประเทศ ชั้นที่สอง เป็นการรองรับรถไฟทางไกลในประเทศ พัฒนาเป็น 3 ระยะ
60
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564