Page 61 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 61

สรุปความ ปาฐกถาพิเศษ อนาคตโครงข่ายคมนาคมของประเทศไทย


                                               แผนที่จะพัฒนาระบบดังกล่าวในเมืองหลักในภูมิภาค อาทิ เชียงใหม่ พิษณุโลก ขอนแก่น
                                               อุดรธานี นครราชสีมา ภูเก็ต และอ�าเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปัจจุบันส�านักงานนโยบาย
                                               และแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ก�าลังศึกษาถึงความเป็นไปได้และรูปแบบในการ
                                               พัฒนาระบบรถขนส่งมวลชนสาธารณะในรูปแบบที่เหมาะสมกับพื้นที่อย่างเป็นระบบ

                                               โดยรูปแบบการพัฒนาจะเน้นเรื่องความเหมาะสมกับปริมาณผู้โดยสารที่จะโตขึ้นตาม
                                               การพัฒนาของเมือง ซึ่งการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะจะต้องสอดคล้องกัน โดยในการ
                                               พัฒนาในระยะแรกอาจจะใช้รูปแบบรถไฟฟ้าล้อยาง และเมื่อปริมาณผู้โดยสารเพิ่มมากขึ้นก็
                                               จะพัฒนาเป็นระบบรถไฟฟ้ารูปแบบรางเหล็กต่อไป เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าคุ้มทุนของโครงการ


                                                 นอกเหนือจากการพัฒนาระบบรางในเมืองแล้ว กระทรวงคมนาคมยังมีโครงการพัฒนา

                                               ระบบคมนาคมทางน�้า เพื่อให้การเดินทางในเมืองมีประสิทธิภาพและมีความสะดวกสบาย
               - แผนระยะสั้น :  ตั้งแต่ พ.ศ. 2563    ในการเดินทางมากขึ้น โดยมีโครงการพัฒนาระบบคมนาคมทางน�้าในเมืองที่ส�าคัญ เช่น
            จะเริ่มมีการเปิดใช้บริการสถานีกลางบางซื่อ      - โครงการที่หนึ่ง  โครงการนำาร่องพัฒนาท่าเรืออัจฉริยะ เป็นหนึ่งใน
            และเริ่มมีการพัฒนาแหล่งธุรกิจ และการ   เครือข่ายโครงการพื้นฐานของการขนส่งในเมือง ที่จะช่วยเชื่อมต่อและอ�านวยความสะดวก
            ค้าในพื้นที่รอบสถานีกลางบางซื่อก่อน    ในการเดินทางจากจุดต่าง ๆ เข้าสู่ระบบการขนส่งทางราง โดยจัดสรรสิ่งอ�านวยความสะดวก

            รวมถึงทางเดินเชื่อมระหว่างสถานีกลาง   ในการเดินทางต่าง ๆ อาทิ เครื่องจ�าหน่ายบัตรโดยสารอัจฉริยะ และป้ายอัจฉริยะแจ้งเรือเข้าท่า
            บางซื่อ  และสถานีรถไฟฟ้าสายสีเขียว
            หมอชิต  โดยมีการวางแผนการสร้าง        - โครงการที่สอง การใช้เรือพลังงานไฟฟ้าในระบบคมนาคมขนส่งทางนำ้า
            สิ่งอ�านวยความสะดวก อาทิ โรงแรม อาคาร   การเปลี่ยนไปสู่การใช้เรือพลังงานไฟฟ้าในระบบคมนาคมทางน�้า ที่เกิดขึ้นบนความร่วมมือ
            ประชุม เป็นต้น                     ระหว่าง ภาครัฐ และภาคเอกชน ซึ่งเปิดให้บริการมาตั้งแต่ วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2563
                                               ที่ผ่านมา เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามเปลี่ยนผ่านไปสู่การส่งเสริมการเดินทางที่มิตร
               - แผนระยะกลาง : ตั้งแต่ ปี พ.ศ.   ทางสิ่งแวดล้อม (Green Transportation) โดยคาดว่าสามารลดการใช้น�้ามันเชื้อเพลิง
            2570 วางแผนที่จะพัฒนาพื้นที่ที่มีศักยภาพ  ได้มากถึง 262,800 ลิตร/ปี
            สูงของการรถไฟแห่งประเทศไทย อาทิ

            ห้างสรรพสินค้า หอประชุมนานาชาติต่าง ๆ      -  โครงการที่สาม การจัดทำาแผนพัฒนาแม่บททางนำ้าในเขตกรุงเทพมหานคร
            ที่เชื่อมต่อเข้ากับสถานกลางบางซื่อ รวมถึง  และปริมณฑล (W-MAP) การศึกษาศักยภาพของการใช้ล�าคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
            แผนการพัฒนาพื้นที่บริเวณ หลักกิโลเมตรที่    เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางเข้าระบบรถไฟฟ้า โดยอาศัยการขนส่งสาธารณะทางน�้า
            11  ให้เป็นพื้นที่อยู่อาศัยที่เป็นมิตรกับ   ซึ่งในปัจจุบันทางส�านักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ก�าลังด�าเนินการ
            สิ่งแวดล้อมเพื่อรองรับการเติบโตของเมือง  ศึกษาอยู่
            ในอนาคต

              - แผนระยะยาว : ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2575

            วางแผนที่จะพัฒนาศูนย์การค้านานาชาติ
            ภายใต้แนวคิดการผสมผสานระหว่าง
            ตลาดสวนจตุจักร และศูนย์การค้าสมัยใหม่
            รวมทั้งแผนการพัฒนาพื้นที่ราชการ
            ในบริเวณโดยรอบ ร่วมกับที่พักอาศัยสมัยใหม่



              อย่างไรก็ดี นอกจากการพัฒนาระบบ
            ขนส่งสาธารณะในเมืองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
            และปริมณฑลแล้ว กระทรวงคมนาคมยังมี



                                                                                                              61
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66