Page 62 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 62

สรุปความ ปาฐกถาพิเศษ อนาคตโครงข่ายคมนาคมของประเทศไทย


            ทั้งนี้ การศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาระบบ    จากปัญหาของการมีรถไฟทางเดี่ยวที่ท�าให้เกิดคอขวดในการขนส่งทางราง ท�าให้
          การคมนาคมทางถนนที่เกิดจากจุดตัดหรือ  กระทรวงคมนาคมต้องมีแผนพัฒนารถไฟทางคู่ทั่วประเทศเพื่อช่วยลดระยะเวลาในการ
          จุดเชื่อมต่อ ซึ่งท�าให้เกิดปัญหาคอขวด   ขนส่ง สามารถให้บริการที่ตรงต่อเวลามากขึ้น ซึ่งการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.)
          ส่งผลให้เกิดการจราจรติดขัดในเมือง ก็เป็น  ได้เริ่มด�าเนินการไปแล้ว คือ ทางคู่ระยะเร่งด่วน (พ.ศ.2560-2564) จ�านวน 7 เส้นทาง ระยะ

          อีกหนึ่งประเด็นส�าคัญที่กระทรวงคมนาคม  ทาง 993 กิโลเมตร โดยได้เริ่มเปิดให้บริการส่วนหนึ่งแล้ว 2 เส้นทาง คือ ชุมทางฉะเชิงเทรา-
          ต้องเร่งรัดด�าเนินการในระหว่างที่ระบบ  คลองสิบเก้า-แก่งคอย เพื่อเชื่อมตะวันออกกับตะวันออกเฉียงเหนือ และชุมทางถนนจิระ-
          โครงข่ายการคมนาคมขนส่งทางรางและ  ขอนแก่น และทางรถไฟสายใหม่ (พ.ศ.2560-2564) จ�านวน 2 เส้นทาง ระยะทาง 681 กิโลเมตร
          ทางน�้ายังไม่สมบูรณ์และอยู่ระหว่างการ  อยู่ระหว่างประกวดราคา 2 เส้นทาง ได้แก่ บ้านไผ่-มุกดาหาร-นครพนม และเด่นชัย-เชียงราย-
          พัฒนา โดยกระทรวงคมนาคมมีโครงการ  เชียงของ ส่วนทางคู่ระยะที่ 2 (พ.ศ.2565-2569) และทางรถไฟสายใหม่ระยะถัดไป
          ศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาโครงข่ายทางถนน  ยังคงอยู่ในแผนพัฒนาเพื่อที่จะขยายรถไฟทางคู่ทั่วประเทศในอนาคต เพื่อให้สอดคล้อง

          อย่างยั่งยืน อาทิ แผนการแก้ไขปัญหา  กับนโยบายการขนส่งที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Transport)  โดยในอนาคตข้างหน้า
          การจราจรติดขัดบนทางพิเศษในพื้นที่  อาจมีการใช้หัวรถจักรแบตเตอรี่ไฟฟ้า (EV on Train) เพื่อเปลี่ยนการใช้พลังงานฟอสซิล
          กรุงเทพมหานคร และการพัฒนาจุดร่วมทาง  มาใช้พลังงานไฟฟ้า ซึ่งขณะนี้ได้ท�าการศึกษาเพิ่มเติมกับภาคเอกชนเพื่อที่จะพัฒนาในส่วน
          แยกต่างระดับบางปะอิน ที่เป็นจุดเชื่อมต่อ  ของแบตเตอรี่เพื่อน�ามาใช้ในอนาคต
          ของทางหลวงระหว่างเมืองและทางพิเศษ

          ระหว่างเมืองสายส�าคัญหลายสายในอนาคต
          เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันโครงการดังกล่าวอยู่ใน
          ระหว่างกระบวนการศึกษาของหน่วยงานที่
          เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางแก้ไข
            ส�าหรับการแก้ไขปัญหามลภาวะทาง
          อากาศ (PM 2.5) ที่เกิดจากการขนส่ง
          ในเขตเมือง กระทรวงคมนาคมได้มีการ

          ศึกษาความเป็นไปได้ในการเพิ่มจุดจอดรถ
          บรรทุกขนาดใหญ่ระหว่างเมืองที่ใช้พลังงาน
          เชื้อเพลิงน�้ามัน บริเวณโดยรอบของชานเมือง
          เพื่อเปลี่ยนถ่ายสินค้าไปสู่รถบรรทุก
          ขนาดเล็ก โดยในอนาคตจะต้องพิจารณา

          ถึงการปรับรูปแบบเครื่องยนต์มาใช้พลังงาน    นอกจากนี้ ยังได้มีการศึกษาการพัฒนาท่าเรือบก (Dry Port) ในภูมิภาคต่าง เพื่อเชื่อมต่อ
          ไฟฟ้า (EV Truck) เพื่อลดมลภาวะที่เกิดขึ้น  ระบบรางไปยังท่าเรือ เช่น สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง (Inland Container Depot :
          จาการคมนาคม                        ICD) ย่านกองเก็บคอนเทนเนอร์ (Container Yard : CY)  ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้า
                                             (Distribution  Center  :  DC)  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนการขนส่งสินค้า
            3.2 การคมนาคมขนส่ง               ในเส้นทางระยะไกล ลดความแอดอัดบริเวณท่าเรือแหลมฉบัง เพิ่มความยืดหยุ่นใน
               ระหว่างเมือง                  การขนส่งตู้สินค้า และเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งตู้สินค้าทั้งระบบ ในส่วนของท่าเรือ

            การคมนาคมขนส่งระหว่างเมือง   (Port) จะน�าระบบ Automated Port มาช่วยแก้ปัญหาด้านต้นทุนในระบบโลจิสติกส์
          จะต้องมีการเปลี่ยนรูปแบบการขนส่ง  รวมถึงการพัฒนาเส้นทางเดินเรือฝั่งอ่าวไทยเชื่อมระหว่างท่าเรือสัตหีบ-ท่าเรือสงขลา
          ทางถนน  (รถบรรทุก)  ไปสู่การขนส่ง  เพื่อเชื่อมการขนส่งสินค้าจากทางเหนือ ตะวันออก ตะวันออกเฉียงเหนือลงไปยังภาคใต้
          ทางราง และทางน�้าเพื่อแก้ปัญหาต้นทุน  โดยประโยชน์จากการเปลี่ยนการขนส่งจากทางบกสู่ทางน�้า (Shift Mode) เพื่อลดการจราจร
          การขนส่งที่มีราคาสูง ซึ่งสอดคล้องกับ  ในเขตเมือง ลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุทางถนน และลดปัญหามลภาวะจากรถบรรทุก

          ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านการสร้างความ    การพัฒนา ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (Motorways) เป็นส่วนส�าคัญในการพัฒนา
          สามารถในด้านการแข่งขันให้กับประเทศ   เพื่อที่จะไม่ให้รถขนส่งสินค้าเข้าไปวิ่งในบริเวณเมือง โดยมีโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง


           62
                  วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67