Page 63 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 63

สรุปความ ปาฐกถาพิเศษ อนาคตโครงข่ายคมนาคมของประเทศไทย


            เช่น M6 สายบางปะอิน - นครราชสีมา (อยู่ระหว่างก่อสร้าง) M5 ต่อขยายยกระดับอุตราภิมุข   แนวทางการพัฒนา คือ ให้ภาครัฐลงทุน
            (ดอนเมืองโทลเวย์) พัฒนาประสิทธิภาพทางแยกต่างระดับบางปะอิน M7 ต่อขยายเชื่อมต่อ  บางส่วนร่วมกับการเปิดเอกชนให้ร่วมลงทุน
            สนามบินอู่ตะเภา M81 สายบางใหญ่ - กาญจนบุรี ทางพิเศษพระราม 3 ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอก   และอาจจ�าเป็นให้นักลงทุนต่างชาติสามารถ
            และทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (ยกระดับ) สายบางขุนเทียน - บ้านแพ้ว เป็นต้น  เข้ามาร่วมลงทุนได้

              ในส่วนของการพัฒนาระบบคมนาคมทางอากาศ  กระทรวงคมนาคมได้มีแผน    อย่างไรก็ตาม  มีเส้นทางคมนาคม
            การเพิ่มขีดความสามารถของท่าอากาศยานในภูมิภาค เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวในอนาคต   อีกหลายเส้นทางที่ต้องเติมเต็มเส้นทาง
            เช่น การพัฒนาท่าอากาศยานเบตง ท่าอากาศยานขอนแก่น ท่าอากาศยานบุรีรัมย์   เชื่อมต่อระหว่างประเทศที่ขาดหาย (Miss-
            ท่าอากาศยานกระบี่ ท่าอากาศยานตรัง และท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช และการบริหาร  ing Links) เพื่อเชื่อมโยงกับต่างประเทศผ่าน
            จัดการทางอากาศมีหน่วยงานส�านักงานการบินพลเรือนก�ากับดูแลเพื่อให้เกิดความปลอดภัย  การพัฒนาโครงข่ายถนน เพิ่มความศักยภาพ
            กับภาคประชาชน                                                          ในการรองรับปริมาณยานพาหนะที่ใช้บริการ

                                                                                   เชื่อมต่อการเดินและระบบโลจิสติกส์
              3.3 การคมนาคมขนส่งเชื่อมภูมิภาค                                      ในภูมิภาค โดยเชื่อมโยงผ่านไปยังประเทศ
              ด้วยต�าแหน่งที่ตั้งของประเทศไทยที่เป็นจุดศูนย์กลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้   เพื่อนบ้าน ซึ่งกระทรวงคมนาคมมีโครงการ
            ส่งผลให้ประเทศไทยมีศักยภาพในการเป็นศูนย์กลางในการเดินทางเพื่อเชื่อมต่อในภูมิภาค    ที่จะพัฒนา  Missing  Links  ดังกล่าว
            โดยหลักการที่ว่า ต้องเป็นรูปแบบที่คิดครบและยั่งยืนในการให้บริการ ดังนั้น ถนนโครงข่าย  ประกอบด้วย

            มอเตอร์เวย์ควรที่จะมีการเชื่อมต่อกันเป็นระบบ และคู่ขนานไปกับการพัฒนาทางรถไฟอยู่ใน    (1) สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 5
            Corridor เดียวกัน เพื่อรองรับการเติบโตในอนาคต จึงเกิดการบูรณาการการพัฒนาโครงข่าย  (บึงกาฬ-บอลิค�าไซ)  จังหวัดบึงกาฬ
            ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองร่วมกับทางรถไฟ (Motorways and Railways Master Plan:   ระยะทาง 16 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 3,930
            MR-MAP) โดยมีเส้นทางแนวเหนือ-ใต้ และเส้นทางแนวตะวันออก-ตะวันตก เชื่อมโยง  ล้านบาท แผนการด�าเนินการคือจะท�าการ
            ประเทศไทยเข้ากับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งจะต้องแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในอดีต จึงจ�าเป็น  ก่อสร้างในช่วงปี พ.ศ. 2563-2566 และเปิด
            ต้องพัฒนามอเตอร์เวย์ รถไฟทางคู่ และรถไฟความเร็วสูงในเขตทางเดียวกัน โดยมีการ  ให้บริการในปี พ.ศ. 2566
            พัฒนาถนนคู่ขนานนอกรั้วตลอดแนวเส้นทางควบคู่ไปด้วย และมีทางแยกต่างระดับ    (2) สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 6

            ทุก 10 กิโลเมตร เพื่อเชื่อมชุมชนสองฝั่งให้สัญจรไปมาได้ ช่วยแก้ไขปัญหาการแบ่งแยก  (อุบลราชธานี-สาละวัน) จ.อุบลราชธานี
            ชุมชน และเกิดการพัฒนาความเจริญของที่ดินทั้งสองฝั่งขึ้นเป็นเมืองใหม่ตลอดแนวเส้นทาง  ระยะทาง 26 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 4,365
            อย่างเป็นระบบ ซึ่งแนวทางการพัฒนาตามรูปแบบนี้จะไม่ตัดผ่านใจกลางเมือง แต่จะเป็นการ  ล้านบาท ค่าเวนคืนที่ดิน 400 ล้านบาท
            พัฒนาเส้นทางวงแหวนรอบเมืองเพื่อลดปัญหาการตัดผ่านชุมชน                  โดยจะมีการลงนามข้อตกลงไทย-ลาว
              โดยกรมทางหลวงได้จัดท�าแผนแม่บทการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงพิเศษ  ในปี พ.ศ. 2565 เริ่มด�าเนินการก่อสร้าง

            ระหว่างเมืองโดยบูรณาการกับการพัฒนาทางรถไฟในระดับโครงข่ายแล้วเสร็จในปี   ในปี พ.ศ. 2566-2568 และเปิดให้บริการ
            พ.ศ. 2564 และเริ่มด�าเนินการส�ารวจ และออกแบบรายละเอียดโครงการในปี 2565  ในปี พ.ศ. 2568
            และเริ่มเวนคืนที่ดินและก่อสร้างโครงการน�าร่อง  ปี  พ.ศ.  2566  -  2568  โดยมี    (3) สะพานมิตรภาพไทย-กัมพูชา
                                                                                   (บ้านหนองเอี่ยน-สตึงบท) จ.สระแก้ว
                                                                                   ระยะทาง 25 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 3,020
                                                                                   ล้านบาท โดยมีแผนการเปิดให้บริการในปี

                                                                                   พ.ศ. 2566
                                                                                     (4) ถนนเชื่อมต่อศูนย์ซ่อมอากาศยาน-
                                                                                   สะพานมิตรภาพแห่งที่ 3 จ.นครพนม
                                                                                   ระยะทาง 23 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,600
                                                                                   ล้านบาท มีแผนนการเปิดให้บริการในปี

                                                                                   พ.ศ. 2567




                                                                                                              63
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68