Page 76 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 76
บทเรียนการบริหารจัดการน�้าของเมืองหลักบนลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยาในประวัติศาสตร์ไทย
รอบด้วยน�้าทั้งสามด้านได้แก่ ทิศเหนือ
ตะวันตก และใต้ จากนั้นจึงเชื่อมแม่น�้า
ลพบุรีจากทิศเหนือสู่ตะวันตกเข้าด้วยกัน
โดยการขุดคูเมืองด้านทิศตะวันออกเพื่อ
ให้เมืองอยุธยากลายเป็นเกาะที่สามารถ
ป้องกันเมืองได้ดีกว่า และตามมาด้วยการ
ขุดคูน�้าเชื่อมเข้ากับแม่น�้าป่าสักสายเก่า
ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งขยาย
เป็นแม่น�้าป่าสักสายใหม่ดังในปัจจุบัน
จากการด�าเนินการดังกล่าวท�าให้รูปร่าง
คล้ายวงรีของเกาะเมืองอยุธยามีสัณฐาน
เฉพาะตัว และแตกต่างจากอิทธิพล
รูปแบบการสร้างเมืองสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือ
ด้านไม่เท่าของเขมรอย่างสิ้นเชิง หลังจากนั้น
มีการขุดคูเชื่อมแม่น�้าเจ้าพระยาท�าให้
แม่น�้าเจ้าพระยาเดิมเปลี่ยนทิศทางการ
ไหลมาสู่อยุธยาในที่สุด (รูปที่ 8 และ
รูปที่ 9) หลักฐานการสร้างเมืองโดยใช้
เส้นทางน�้าเป็นขอบเขตรอบเมืองจึงถือ
เป็นภูมิปัญญาของชาวสยามที่เรียกได้
ว่า “ชาวน�้า” อย่างแท้จริง จากแนวคิด รูปที่ 8 ภาพร่างการเกิด เกาะเมืองโบราณอยุธยา และการจัดการน�้าโดยการขุดคลองผ่านเกาะเมือง
การตั้งเมืองอยุธยาดังกล่าว ส่งผลดีต่อ
ความเจริญรุ่งเรืองในฐานะเกาะเมือง
ป้อมปราการที่ล้อมรอบด้วยน�้า (แม่น�้า) และ
พื้นที่เกษตรกรรมบริเวณที่ราบลุ่มน�้าหลาก
ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแร่ธาตุตาม
ธรรมชาติหลังน�้าท่วมหลากประจ�าปีผ่าน
ไป (natural fertile area) ในบางปีที่ฤดูน�้า
หลากมีปริมาณน�้ามากกว่าปกติ ชาวสยาม
ได้ใช้ระบบคูคลองในเมืองผันน�้าจากตอนบน
ของเกาะเมืองไปยังกับพื้นที่เกษตรกรรม
แทน (ทุ่งชะลอน�้า) ซึ่งเป็นการช่วยลด
ปริมาณน�้าผ่านเกาะเมืองได้อย่างรวดเร็ว
นอกจากนั้นบรรพบุรุษของชาวสยาม
ยังเรียนรู้การตั้งถิ่นฐานเมืองแบบ
ไม่ต่อต้านกระแสน�้าและสามารถปรับใช้
ในวิถีชีวิตให้เกิดความยั่งยืนได้ด้วยการ
อาศัยอยู่บนเรือนแพหรือเรือนยกใต้ถุน รูปที่ 9 ผลการศึกษาวิจัยระบบคูคลองเมืองอยุธยาโบราณ
สูงระหว่างฤดูน�้าหลาก ต่อเนื่องมาเป็น
ระยะเวลาหลายศตวรรษ กล่าวโดย
76
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564