Page 75 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 75
บทเรียนการบริหารจัดการน�้าของเมืองหลักบนลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยาในประวัติศาสตร์ไทย
บริบทที่ 2: เวียงกุมกาม - ต�านานพื้นเมืองเชียงใหม่ เฉพาะช่วงล�าน�้าที่ท้องน�้ามีลาดชันต่างระดับชัดเจนและธรณีสัณฐาน
มีการระบุถึง พญามังรายได้ย้ายออกจากเมืองหริภุญชัย (สมัยทวารวดี) ไม่แข็งแรง [*2] ท�าให้ผู้คนอพยพออกจากพื้นที่ รวมระยะเวลาทั้งสิ้น
หรือเมืองล�าพูนในปัจจุบัน หลังจากยึดได้ในปี พ.ศ. 1824 ห้าปีต่อมา 400 ปีหลังจากสร้างเมือง
ได้ตั้งเวียงกุมกามขึ้นเป็นเมืองหลวงแห่งแรกของอาณาจักรล้านนา
ในปี พ.ศ. 1829 ต�านานบันทึกถึงการก่อสร้างคูรอบก�าแพงเมือง บทเรียนจากเวียงกุมกามให้ข้อสันนิษฐานถึง
ทั้งสี่ด้านและชักน�้าจากแม่น�้าปิง โดยระบุว่ามีกิจกรรมการค้าขาย “การไม่ควรตั้งเมืองหลวง หรือเมืองส�าคัญ
และขนส่งทางน�้าที่คึกคักในระยะเวลาที่พญามังรายพ�านักอยู่ใน บนที่ราบลุ่ม น�้าท่วมถึง ใกล้แม่น�้า
เวียงกุมกามแห่งนี้ ครั้งหนึ่งพญามังรายไปส�ารวจกิจกรรมทางน�้า หรือโค้งคดเคี้ยวและกัดเซาะ”
ที่ท่าน�้าโดยแลไปทางทิศตะวันออก เห็นเรือหลายล�ากระทบกัน
หนาแน่น ขณะที่ผู้ค้าสาละวนอยู่อย่างมีความสุขในกิจกรรม
ค้าขายของตนเอง หลักฐานนี้สะท้อนถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ บริบทที่ 3 : อยุธยา - จากการเป็นที่ตั้งถิ่นฐานทาง
เลือกท�าเลที่ตั้งเพื่อการเดินทางค้าขาย รวมถึงการใช้คูเมือง ยุทธศาสตร์ของเมืองอยุธยา อาจกล่าวได้ว่า “น�้า” และ “น�้าหลาก”
ส�าหรับป้องกันข้าศึก และระบายน�้าในฤดูน�้าหลาก แต่เนื่องจาก เป็นปัจจัยส�าคัญในการด�ารงชีวิตในเมืองป้อมปราการโบราณอยุธยา
ที่ตั้งของเวียงกุมกามอยู่บริเวณริมแม่น�้าปิงช่วงต้นน�้าที่มีความ ที่ตั้งอยู่บนที่ราบรูปแอกวัวของแม่น�้าลพบุรีสายเก่า อันเป็นองค์
คดเคี้ยวและมีโค้งกัดเซาะตลอดล�าน�้าจ�านวนมาก การปรับเปลี่ยน ประกอบของแม่น�้าสามสายหลัก คือ เจ้าพระยา ป่าสัก และลพบุรี
เส้นทางการไหลของร่องน�้าลึกตามธรรมชาติเกิดขึ้นได้ทุกปีในฤดู มาบรรจบกันโดยการขุดคูเมืองอยุธยาจนกลายเป็นเกาะเมือง
น�้าหลาก [*2] พญามังรายจึงย้ายไปสร้างเมืองเชียงใหม่ที่มีคูเมือง ในภายหลัง [*9]
ล้อมรอบเป็นรูปสี่เหลี่ยมและตั้งอยู่บนที่ลาดเชิงเขาห่างจากแม่น�้าปิง สันนิษฐานว่า ระบบคูคลองนี้เองที่ช่วยให้อยุธยาในเวลานั้น
(รูปที่ 7) โดยค�าแนะน�าของสหายทั้งสองคือ พญาง�าเมืองจากเมือง เป็นเมืองท่าส�าคัญทางยุทธศาสตร์ในสุวรรณภูมิ ด้วยภูมิปัญญา
พะเยา และพ่อขุนรามค�าแหง (ร่วง) จากเมืองสุโขทัยในปี พ.ศ. การจัดการน�้าของอยุธยาในสมัยนั้นชาวสยาม (อยุธยา) ค�านึงถึง
1839 ในขณะเดียวกันเวียงกุมกามไม่ได้ถูกปล่อยทิ้งร้างยังมีผู้คน “น�้า” เป็นปัจจัยแรกในการสร้างเมืองหลวง [*6] การลงหลักปักฐาน
อาศัยอยู่จนเกิดน�้าท่วมใหญ่ในฤดูน�้าหลาก ปี พ.ศ. 2200 แม่น�้าปิง เมืองแรก ณ ต�าบลเวียงเหล็ก แล้วย้ายไปยังทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
เปลี่ยนทิศทางการไหลของร่องน�้าลึกเพื่อปรับความคดเคี้ยวของ ในต�าแหน่งพื้นที่แอ่งลพบุรีรูปแอกวัว (oxbow plain) ซึ่ง
ล�าน�้า (meander alteration) ตามปกติธรรมชาติของแม่น�้าโดย เป็นต�าแหน่งที่มั่นทางยุทธศาสตร์ที่ดีกว่าเดิมเนื่องจากล้อม
รูปที่ 7 ภูมิประเทศ และภาพร่างแสดงที่ตั้งเวียงกุมกามภูมิทัศน์โบราณ
75
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564