Page 46 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 46
รถโบกี้ไฟฟ้าก�าลังปรับอากาศ (Power Car) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
กับการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในระบบการขนส่งทางรางและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เพื่อรองรับนโยบายในการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพของขบวนรถดังกล่าว การรถไฟฯ
จึงได้วางแนวทางในการใช้งานรถโบกี้ไฟฟ้าก�าลัง (Power Car) โดยท�าการออกแบบตู้รถไฟ
เพื่อให้สามารถท�าการติดตั้งชุดเครื่องยนต์เครื่องก�าเนิดไฟฟ้า (Diesel Generator Set)
เพื่อผลิตและจ่ายกระแสไฟฟ้าใช้การกับระบบปรับอากาศ แสงสว่างให้กับรถโดยสาร และ
ติดตั้งเครื่องท�าลมอัด (Air Compressor) เพื่อใช้การกับระบบลมอัดของรถโดยสาร เช่น
ระบบช่วงล่างแบบถุงลม (Air Spring) ประตู ระบบน�้าในห้องสุขา อีกทั้งติดตั้งระบบควบคุม
สายไฟฟ้า ท่อลม และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ โดยผลส�าเร็จของโครงการนี้ท�าให้รถโบกี้ไฟฟ้า
ก�าลัง (บฟก.ป) หรือ Power car ได้ถูกสร้างขึ้นภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการและส่งเสริมนโยบาย
ภาครัฐในรูปแบบของการใช้ทรัพยากรและองค์ความรู้ภายในประเทศ (Local Content) เพื่อ
เป็นตัวอย่างในการด�าเนินงานตามแนวทางยุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์การลดค่าใช้จ่าย
ของการรถไฟแห่งประเทศไทย อีกทั้งสนับสนุนผู้ประกอบการภายในประเทศให้มีการสร้างงาน
นวัตกรรม องค์ความรู้ เพื่อตอบรับในการจัดการด้านความประหยัด การลดรายจ่าย ความ
คุ้มทุนในการให้บริการการขนส่งขบวนรถโดยสารของกิจการการรถไฟแห่งประเทศไทย
รูปที่ 3. รถโบกี้ไฟฟ้าก�าลัง (บฟก.ป) หรือ Power car ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ความปลอดภัยอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน โดยใน
ขณะนั้นทางการรถไฟฯ จึงได้อนุเคราะห์ให้
2. การด�าเนินงานเพื่อจัดหารถไฟฟ้าก�าลัง ทีมนักวิจัยจากสถานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศ
ด้านนวัตกรรมถนนและระบบราง
เมื่อการรถไฟแห่งประเทศไทยเริ่มโครงการในการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร (NU-RRI) ร่วมกับ
รถโดยสารเพื่อรองรับปริมาณผู้โดยสารที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตนั้น สิ่งที่การรถไฟแห่งประเทศไทย บริษัท กิจการร่วมค้า ไซโนเจน-ปิ่นเพชร
จ�าเป็นต้องด�าเนินการควบคู่กันไปคือการจัดหารถไฟฟ้าก�าลัง (Power car) จ�านวน 8 คัน จ�ากัด ท�าการออกแบบและก่อสร้างตู้
และการดัดแปลงสภาพตู้โดยสาร 95 คันจากเดิมให้สามารถใช้งานร่วมกับรถไฟฟ้าก�าลัง รถไฟฟ้าก�าลังขึ้นมาใหม่ โดยมีการออกแบบ
ดังกล่าวได้ ซึ่งในเบื้องตัน ได้มีแนวคิดของการน�าตู้รถโดยสารเก่าของญี่ปุ่นมาดัดแปลง โดย และสร้างโครงประธาน งานปรับปรุงสภาพ
ได้เลือกเลือกตัวรถ JR WEST ที่ได้รับการบริจาคมาจากประเทศญี่ปุ่นที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว ของโบกี้ งานติดตั้งระบบควบคุม สายไฟฟ้า
น�ามาตรวจสอบเพื่อเตรียมความพร้อมส�าหรับการก่อสร้างดัดแปลงเป็นรถไฟฟ้าก�าลัง ซึ่งจาก ท่อลม รวมไปถึงอุปกรณ์อ�านวยความ
ผลการส�ารวจโครงสร้างเดิมของตู้รถโดยสาร JR WEST ดังกล่าวนั้น พบว่าโครงสร้างโดยรวม สะดวกต่าง ๆ ภายในตัวรถส�าหรับพนักงาน
อยู่ในสภาพที่ไม่สามารถน�ามาดัดแปลงให้รองรับรูปแบบการใช้งานในอนาคตได้ ยิ่งไปกว่านั้น ประจ�ารถ ภายใต้ค�าแนะน�าและการตรวจ
การเสื่อมสภาพของรถ JR WEST ในแต่ละตู้ยังมีรูปแบบที่ต่างกันไป ซึ่งจะส่งผลให้การควบคุม สอบอย่างใกล้ชิดจากเจ้าหน้าที่ของการ
คุณภาพของงานในแต่ละขั้นตอนเกิดความยุ่งยากและมีโอกาศเกิดความผิดพลาดขึ้นได้ ดังนั้น รถไฟฯ โดยได้มีการด�าเนินงานตาม
การรถไฟฯจึงได้อนุมัติแนวคิดที่จะสร้างตู้รถไฟขึ้นใหม่โดยใช้ทรัพยากรและองค์ความรู้ภายใน มาตรฐาน EN, UIC รวมไปถึงมาตรฐาน
ประเทศ (Local content) ภายใต้เงื่อนไขว่ารถที่สร้างขึ้นมาใหม่นั้นต้องมีสมรรถนะและ ของการรถไฟฯ เองด้วยเช่นกัน
46 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565