Page 47 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 47
รถโบกี้ไฟฟ้าก�าลังปรับอากาศ (Power Car) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
กับการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในระบบการขนส่งทางรางและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
รูปที่ 5. แผนผังต�าแหน่งและอุปกรณ์ของรถไฟฟ้าก�าลัง
ระหว่างออกแบบและก่อสร้างรถไฟฟ้า (Ride comfort) ซึ่งมีการควบคุมให้เป็นไปตามมาตรฐานของการรถไฟฯ และมาตรฐานสากล
ก�าลังจะมีการวิเคราะห์และทดสอบ หลังจากนั้นเมื่อสร้างรถเสร็จสมบูรณ์แล้วจะเข้าสู่กระบวนการทดสอบวิ่งจริง (Running test)
ในหลาย ๆ รูปแบบ ทั้งการวิเคราะห์ และทดสอบการใช้งานของระบบต่างๆ (Facility test) เช่น ระบบจ่ายไฟฟ้า และระบบจ่าย
โครงสร้างโครงประธานด้วยระเบียบวิธีไฟ ลมอัด เป็นต้น โดยในการทดสอบจะท�าการต่อรถเป็นขบวนเสมือนการใช้งานจริง ซึ่งผลการ
ไนต์เอลิเมนต์ (finite element model) ทดสอบได้ถูกน�าไปวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย (Financial Analysis) ความคุ้มค่า และจุดคุ้มทุน
การวิเคราะห์ด้วยแบบจ�าลองมัลติบอดี้ อัตราการสิ้นเปลืองน�้ามันเชื้อเพลิงระหว่างการใช้รถไฟฟ้าก�าลังเปรียบเทียบกับขบวนรถ
(multibody dynamic model) รวมถึงการ โดยสารปรับอากาศทั้งขบวนที่ใช้งานเดิม
ทดสอบการรับน�้าหนักของโครงสร้างจริง
ด้วยการท�า static load test เพื่อตรวจสอบ การออกแบบและก่อสร้างโครงสร้างรถไฟฟ้าก�าลัง
พฤติกรรมการรับน�้าหนักของโครงประธาน โครงประธานถูกออกแบบให้มีขนาดมิติเป็นไปตามข้อก�าหนดของการรถไฟฯ (รูปที่ 6)
ก่อนที่จะถูกน�าไปใช้งาน นอกจากนี้ยังค�านึงถึง รวมทั้งสามารถรองรับน�้าหนักต่างๆขณะใช้งานได้อย่างปลอดภัย โดยอ้างอิงมาตรฐาน
ความปลอดภัยและพฤติกรรมในการวิ่ง EN-12663 [2], UIC-566 [3], EN-15085 [4] รวมทั้งข้อก�าหนดด้านโครงสร้างรถไฟของ
(running safety and running behavior) การรถไฟฯ โดยน�้าหนักบรรทุกที่กระท�าต่อโครงประธานจะประกอบไปด้วย แรงในแนวยาว
รวมทั้งความสะดวกสบายของการโดยสาร (longitudinal) แรงในแนวดิ่ง (vertical) แรงที่ท�าให้เกิดการบิด (twist) รวมถึงแรงที่เกิดจาก
ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 กันยายน-ธันวาคม วิศวกรรมสารวิศวกรรมสาร 4747
ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 กันยายน-ธันวาคม