Page 11 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 11
บทความ “การยกวัสดุในงานกู้ภัยด้วยรถเครน: ขั้นตอนและข้อควรระวัง แลประสบการณ์ จากเหตุเครนถล่ม ถนนพระราม 2”
การท�างานของรถเครนจะยกวัสดุได้น�้าหนักมากเพียงใด
จะขึ้นกับปัจจัยหลัก 3 ประการคือ
1. น�้าหนักของรถเครน (Crane Weight)
2. ความแข็งแรงของโครงสร้างรถเครน (Crane Strength)
3. เสถียรภาพของรถเครน (Crane Stability)
จากปัจจัยข้อแรกในส่วนน�้าหนักของรถเครน จากตารางพิกัดยก
จะพบว่าหากมีการใช้รถเครนที่มีน�้าหนักมากขึ้น ความสามารถ
ในการยกก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดยรถเครนขนาดใหญ่ จะสามารถ
เพิ่มเติมน�้าหนักถ่วง (Counterweight) ที่ท้ายรถเครนได้หลาย
รูปแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการยกน�้าหนัก ซึ่งในงานกู้ภัย จากความแข็งแรงของโครงสร้างรถเครน จึงมีความจ�าเป็นต้อง
นี้ มีการใช้รถเครน TADANO AR5500M จากตารางพิกัดยก เลือกใช้ รถเครนขนาดใหญ่พิกัดราว 200 - 550 ตัน มากกว่า 6 คัน
(Crane Load Chart) มีน�้าหนักตัวรถเครน (Gross vehicle โดยใช้รถเครนพิกัด 550 ตัน และ 400 ตัน รวม 2 คันในการยก
weight) ประมาณ 50.790 ตัน สามารถใส่น�้าหนักถ่วงได้สูงสุดที่ ชิ้นงาน Segment ที่ห้อยคาอยู่ใต้โครงสร้างเครนที่เสียหายรวม
195 ตัน เมื่อพิจารณาจากน�้าหนักของชิ้นงานที่จะยก รัศมีการยก 3 ชิ้น ชิ้นละกว่า 50 ตัน และเพื่อให้เครนมีเสถียรภาพและมีขีด
และความสูงของปลายแขนปั้นจั่น รวมทั้งสภาพหน้างาน ความสามารถในการรับน�้าหนักที่เต็มที่ จ�าเป็นยิ่งที่ต้องมีการวาง
ทีมงานยกจึงเลือกใช้น�้าหนักถ่วงที่ 164 ตัน ดังนั้น น�้าหนักเครน ต�าแหน่งรถเครนที่ใกล้จุดยกมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ จาก
รวมน�้าหนักถ่วงมีน�้าหนักสูงถึง 215 ตันเลยทีเดียว! โดยยังไม่รวม ข้อจ�ากัดจากสภาพหน้างาน รถเครน 550 ตัน จะใช้ขายันพื้นหลัก
กับน�้าหนักชิ้นงาน (Outriggers) ซึ่งมีความกว้างเมื่อกางขาออกยืดสุดถึง 9 เมตร
รวมทั้งยังมีการใช้ ขายันพื้นกลาง (Center Jack) และขายันพื้น
เสริม (Auxiliary Outriggers) นอกจากนี้ ยังมีแผ่นรองขายันพื้น
(Outrigger Pad) ขนาดใหญ่ช่วยในการกระจายน�้าหนักลงบนพื้น
ถนน โดยมีการทลายแท่งคอนกรีตแบ่งช่องจราจรออกตลอดแนว
เพื่อให้ขายันพื้นกางได้เต็มที่โดยสะดวก ซึ่งในส่วนรถเครน 360 ตัน
จ�านวน 2 คัน ช่วยยกประคองโครงสร้างเครน และรถเครน 550 ตัน
อีก 1 คัน ช่วยยกประคอง End Segment โดยรถเครน 220 ตัน
จะท�าหน้าที่สนับสนุนในการยกชิ้นงานขนาดเล็กที่อาจกีดขวางการ
ปฏิบัติงาน และยกกระเช้าน�าทีมงานขึ้นตรวจสอบพื้นที่เป็นระยะ
นอกจากนี้ยังมี ลวดสลิงและอุปกรณ์ช่วยยก รอกโซ่ รถกระเช้า
เครนติดรถบรรทุก รถเทรลเลอร์ รถบรรทุก ชุดเชื่อมตัด วิศวกร
ช่าง และทีมงานสนับสนุนอีกจ�านวนมาก
งานกู้ภัยในเหตุเครนถล่ม จัดได้ว่าเป็นงานยกแบบวิกฤต
(Critical Lifting) เป็นงานยกที่มีความเสี่ยงสูง เนื่องจากการผูกรัด
และยึดเกาะวัสดุมีความซับซ้อน และต้องมีล�าดับขั้นตอนการ
ท�างานที่แม่นย�า รวมทั้งยังอาจต้องแข่งกับเวลา ในกรณีที่มีผู้บาด
เจ็บหรือเสียชีวิตติดค้าง และอาจมีปัจจัยพิเศษหลายประการที่
ไม่สามารถยกเคลื่อนย้ายได้ด้วยวิธีการแบบทั่วไป จากการลงพื้นที่
ภาพที่ 4: รถเครนหลักในการยก Segment – All Terrain Crane พบมีอุปสรรคและข้อควรระวังในงานยกเคลื่อนย้ายส�าหรับงาน
550 ตัน และ 400 ตัน กู้ภัยหลายประการ เช่น
วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567 11