Page 14 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 14
บทความ “การยกวัสดุในงานกู้ภัยด้วยรถเครน: ขั้นตอนและข้อควรระวัง แลประสบการณ์ จากเหตุเครนถล่ม ถนนพระราม 2”
ภาพที่ 10: ภาพแสดงต�าแหน่งติดตั้ง Sensors จับการเคลื่อนไหวของคานหัวเสา ขณะท�าการยกรื้อชิ้นงาน
(Sensors ชุดจริงติดตั้งที่คานหัวเสาชุดที่โครงสร้างเครนทับอยู่)
นอกจากนี้ ในบางกรณี อาจมีความจ�าเป็นต้องยกหรือมีการ
ลากชิ้นงานในการยึดเกาะที่ไม่ปกติ จึงจ�าเป็นที่ต้องพิจารณา หมายเหตุ:
ถึงแรงต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น แรงจากการเคลื่อนไหว
(Dynamic Load), แรงกระชาก (Shock Load), แรงเสียด บทความนี้ ใช้เพื่อเป็นแนวทางใช้รถเครนในการกู้ภัย
ทาน (Friction Force) จากพื้นผิวที่วัสดุสัมผัส, แรงจากการ ส�าหรับผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ข้อมูลขั้นตอนการยก
ยึดเหนี่ยว (Tethered Force) รวมถึงแรงจากสภาพ น�้าหนักของวัสดุ และพิกัดรถเครน เป็นการประมาณ
แวดล้อม เช่น แรงลม การสั่นสะเทือน การเคลื่อนตัวของ การจากการลงพื้นที่ อาจมีความคลาดเคลื่อนบางส่วน
โครงสร้างที่ใกล้กัน เป็นต้น ในการยกจึงควรเผื่อค่าความ ขอบคุณข้อมูลจากการลงพื้นที่เกิดเหตุ และสนทนากับ
ปลอดภัยในระดับสูง โดยลดน�้าหนักการยกลงเหลือเพียง หลายฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทีมงาน Ek Crane,
60–75% ของตารางพิกัดยกของรถเครนหรือน้อยกว่า โดย นายช่าง อิตาเลียนไทย, อ.รุ้ง วสท., ปภ., กรมทางหลวง,
ให้ประมาณการน�้าหนักที่ยกเผื่อไว้และให้ตรวจสอบน�้าหนัก วสท., เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานที่หน้างานทุกท่าน
ที่แน่นอนที่จอแสดงผลของรถเครนประกอบ เพื่อให้การยก
เคลื่อนย้ายเป็นไปอย่างปลอดภัย ในกรณีที่เกิดเหตุให้มี
ภาระเพิ่มเติมโดยไม่คาดคิดนั่นเอง
จะเห็นได้ว่าแม้ว่ารถเครนจะเป็นหนึ่งในเครื่องจักรที่มักใช้ใน
งานกู้ภัยชิ้นส่วนวัสดุขนาดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพสูง แต่ในการรื้อ
ถอนชิ้นงานที่มีน�้าหนักมาก ๆ และอาจอยู่ในสภาพที่ไม่ปกติ
มีสิ่งกีดขวาง สภาพแวดล้อม และทรัพยากรที่จ�ากัด รวมทั้งอาจมี
ข้อจ�ากัดด้านระยะเวลา จ�าเป็นที่จะต้องมีปฏิบัติงานอย่างรอบคอบ
และรัดกุม ต้องมีการวางแผนงานยกและด�าเนินการโดยผู้ช�านาญ
การที่เกี่ยวข้อง โดยมีการตรวจสอบ ประเมินความเสี่ยง ปรับปรุง
แผนการยกตามสภาพงานที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อลด
ความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้น และจะมีส่วนให้สถานการณ์กลับคืน
สู่สภาวการณ์ปกติต่อไป
14 ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567 วิศวกรรมสาร