Page 12 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 12
บทความ “การยกวัสดุในงานกู้ภัยด้วยรถเครน: ขั้นตอนและข้อควรระวัง แลประสบการณ์ จากเหตุเครนถล่ม ถนนพระราม 2”
น�้าหนักของชิ้นงานวัสดุที่ยก - ชิ้นงานกล่องคอนกรีต ชิ้นงานชุดรอก น�้าหนักกว่า 30 ตัน - มีจุดที่ยึดโยงกับ
(Segment) แต่ละชิ้นมีน�้าหนักมากถึง 50 ตัน ในบางจุด โครงสร้างเครนที่ถล่ม โดยมีทั้งลวดสลิงพันติด จุดยึดต่อด้วย
มีชิ้นงานหลายชิ้นเกาะเกี่ยวกัน เช่น ชิ้นงานกล่องคอนกรีต นอต และโครงที่ทับกัน จึงจ�าเป็นต้องใช้ทีมงานขึ้นกระเช้า
ยึดกันด้วยเหล็กยึดก�าลังสูง (PT Bar) รวม 2 ชิ้นงาน ชิ้นละ ไปตัดลวดสลิงและโครงสร้างที่เกาะยึดกันออก
50 ตัน รวมเป็นชิ้นงานที่ต้องยกเคลื่อนย้ายรวม 100 ตัน
เนื่องจากไม่สามารถแยกชิ้นงานออกจากกันได้
ภาพที่ 6: การยกชุดรอกหลักเหนือโครงสร้างเครนที่ถล่ม
ชิ้นงานกล่องคอนกรีตชิ้นปลาย (End Segment) ที่มีสภาพ
เอียงบนคานหัวเสา มีน�้าหนักกว่า 80 ตัน – ทีมงานยก
ได้ใช้รถเครน 550 ตัน ยกประคองชิ้นงานไว้ตลอดเวลา โดย
ในช่วงที่มีการยกชิ้นงานชุดรอกที่อยู่ทับบนโครงสร้างเครน
ซึ่งอยู่ด้านบนของ End Segment ได้มีการใช้โซ่รัดชิ้นงาน
กับคานหัวเสา เพื่อป้องกันการเคลื่อนตัวของ End
Segment ซึ่งอยู่ในสภาพเอียงและอาจเสียเสถียรภาพได้ ใน
ขณะยกชิ้นงานส่วนอื่น ๆ
ชิ้นงานโครงสร้างเครนหลักสีน�้าเงินที่หักเสียหาย โดย
ภาพที่ 5: ชิ้นงาน Segment จ�านวน 3 ชิ้น ที่ห้อยใต้โครงสร้างเครนที่ถล่ม ส่วนท้ายค้างบนพื้นถนนคอนกรีตที่ก่อสร้างแล้ว ส่วนกลาง
หักห้อย โดยมี Segment ห้อยอยู่ 3 ชุด ชุดละ 50 ตัน
ส่วนหน้า พาดบนคานหัวเสาทับ End Segment โดยมี
ส่วนปลายหักเอียงลงที่พื้นดิน – ในส่วนโครงสร้างเครน
ที่เสียหาย จะใช้รถเครน 360 ตัน รวม 2 คันเป็นหลักในการ
ยกประคองโครงสร้างเครน
ภาพที่ 7: การยกประคองโครงสร้างเครนด้วยรถเครนขนาดใหญ่หลายชุด
12 ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567 วิศวกรรมสาร