Page 13 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 13

บทความ “การยกวัสดุในงานกู้ภัยด้วยรถเครน: ขั้นตอนและข้อควรระวัง แลประสบการณ์ จากเหตุเครนถล่ม ถนนพระราม 2”




                ต�าแหน่งลวดสลิงเคลื่อนที่ และชุดตะขอยกของรถเครนในการยึดเกาะวัสดุ – โดย   ในการยกชิ้นงานด้วยรถเครน 2 คัน
                 ทั่วไปในการยกวัสดุด้วยรถเครน จะใช้ลวดสลิงที่ห้อยชุดตะขอยกทิ้งดิ่งจากปลาย  พร้อมกัน ซึ่งจัดเป็นงานยกที่ต้องมี
                 แขนปั้นจั่น (Crane Boom) ลงไปที่ชิ้นงานที่ยก แต่เนื่องจากชิ้นงาน Segment    การจัดท�าแผนการยก จ�าเป็นที่ผู้
                 อยู่ในสภาพห้อยเอียงกับโครงสร้างเครน โดยลอยอยู่เหนือพื้นดิน จึงจ�าเป็นที่ต้อง  บังคับรถเครนต้องมีประสบการณ์สูง
                 ใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย เพื่อลดความเสี่ยง โดยงานนี้ใช้โดรนบินส�ารวจถ่ายภาพและ  และมีการประสานงานกันอย่าง

                 สแกน 3 มิติน�ามาเป็นข้อมูลเพื่อหาช่องว่างที่เหมาะสม และในบางจุดที่ไม่มีช่องว่าง  ใกล้ชิด  รวมทั้งมีการสื่อสารกัน
                 ที่เพียงพอ จ�าเป็นต้องตรวจสอบหาช่องว่างโดยละเอียด และต้องใช้ทีมงานไปน�า   ตลอดเวลา เพื่อตรวจสอบน�้าหนักที่
                 ชุดตัดเจาะไปเปิดช่องในต�าแหน่งที่สามารถหย่อนลวดสลิงน�าตะขอไปยึดเกาะ   ยกเคลื่อนย้ายยังอยู่ในพิกัดที่
                 ชิ้นงานได้ โดยไม่มีสิ่งกีดขวางหรือเสียดสีกับลวดสลิงและอุปกรณ์ช่วยยก รวมถึง  สามารถรับน�้าหนักได้ตามสัดส่วนที่
                 ต้องใช้ความระมัดระวังอย่างมากในการหย่อนชิ้นงานลงอย่างช้า ๆ          ก�าหนด หากหน้าจอแสดงผลของรถ
                                                                                     เครนมีการแสดงพิกัดที่เปลี่ยนแปลง

                                                                                     ที่มีนัยยะส�าคัญ จะต้องมีการตรวจสอบ
                                                                                     และประเมินใหม่จากผู้ควบคุมการ
                                                                                     ยกทุกครั้ง
                                                                                    จากสภาพชิ้นงานวัสดุที่มีการทับซ้อน
                                                                                     กันไปมา และบางชิ้นงานอยู่ในสภาพ

                                                                                     ที่เสียเสถียรภาพจากเหตุการณ์
                                                                                     ที่เกิดขั้น ทีมงานวิศวกร วสท. ได้
                                                                                     ท�าการติดตั้ง Sensors จับความ
                                                                                     เคลื่อนไหวในหลายแกนรอบแนวคาน
                                                                                     และเสารับ Segment โดยติดตั้งที่

                    ภาพที่ 8: ภาพด้านบนจากการส�ารวจ น�ามาหาช่องว่างในการหย่อนลวดสลิง  คานหัวเสาด้านหน้า และที่ชุด End
                                                                                     Segment โดยมีทีมงานเฝ้าระวัง

                                                                                     ตลอดเวลาที่ท�าการยกในแต่ละ
                                                                                     ขั้นตอน รวมทั้งมีทีมงานส่องกล้อง
                                                                                     สังเกตการณ์ในจุดที่อาจมีการ
                                                                                     เคลื่อนตัวของโครงสร้างหรือชิ้นงาน
                                                                                     ที่ส�าคัญ  โดยหากพบมีความ

                                                                                     เคลื่อนไหวที่อาจเป็นอันตราย จะมี
                                                                                     การประสานงานให้หยุดการยกทันที









               ภาพที่ 9: ภาพด้านข้างจากการส�ารวจ น�ามาหาระยะห่างของช่องว่างในการหย่อนลวดสลิง












              วิศวกรรมสาร                                                             ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567  13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18