Page 25 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 25

ตอนที่ ๙ โบราณกับการเรียนรู้ ส�าเร็จ และล้มเหลว

                วิศวกรรมศาสตร์ เพื่อพัฒนา                          สืบเนื่องจากการบินสาธิตครั้งแรกในไทย  และก�าเนิด
                และแก้ปัญหา                                      ท่าอากาศยานกรุงเทพ (ท่าอากาศยานดอนเมือง ใช้งานมาจวบจน

                                                                 ปัจจุบันดังกล่าวแล้ว) ได้เป็นจุดเริ่มต้นให้ รัฐบาลไทยว่าจ้างบริษัท
              ในประเทศไทย ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.  ที่ปรึกษา ศึกษาวางผังเมืองกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2503 สรุป

            2475 ประเทศไทยประสบความผันผวนทางการเมืองการปกครอง  ว่ากรุงเทพมหานครควรมีท่าอากาศยานพาณิชย์อีกแห่งหนึ่งแยก
            กอปรสถานการณ์เปลี่ยนแปลงของโลก และสงครามโลกครั้งที่ 2   ออกจากท่าอากาศยานทหาร ใช้เวลานานมาก ทั้งการเวนคืนที่ดิน
            ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งได้ถูกวางรากฐานมุ่งพัฒนา  ก่อสร้าง และรูปแบบ กว่าจะเป็น ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงเทพ
            ให้ทัดเทียมอารยประเทศ  มาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จ  แห่งที่ 2 (Second Bangkok International Airport – SBIA)
            พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสาธารณูปโภค โครงสร้างพื้นฐาน อาทิ  ท่าอากาศยานแห่งชาติกรุงเทพแห่งใหม่  (New  Bangkok
            การประปา ไฟฟ้า ขนส่ง คมนาคม  (รถไฟ และรถยนต์) ไปรษณีย์  International Airport – NBIA) และเป็นท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
            โทรเลข การศึกษา และอื่น ๆ นับว่า งานวิศวกรรมไทย มีบทบาท  ในปัจจุบัน และเป็นมูลเหตุให้ผู้บริหารประเทศคิดถึงแผนพัฒนา

            เป็นอย่างมาก แม้ในเวลาเริ่มต้น เราจะยังต้องพึ่งพาต่างชาติ เพื่อ  ประเทศอย่างเป็นระบบ พัฒนาทุกด้านอย่างมีประสิทธิภาพ
            แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอดเทคโนโลยี เช่น ตั้งแต่มีการก่อสร้าง  เกิดประสิทธิผล ดังนั้น ตั้งแต่ พ.ศ. 2505 เป็นต้นมา รัฐบาลก�าหนด
            ถนนเจริญกรุง (พ.ศ. 2404 ถึง พ.ศ. 2407) ถนนบ�ารุงเมือง และ  ให้มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (National Economics
            ถนนเฟื่องนคร (พ.ศ. 2406) ก�าเนิดหน่วยงานทางหลวง สังกัดกรม  and Social Development Plan – NESD Plan)
            รถไฟหลวง (พ.ศ. 2455) ยกฐานะเป็นกรมทางหลวงแผ่นดิน (พ.ศ.    วิศวกรมีบทบาทสร้างโลก และพัฒนาโดยล�าดับ ทั้งในระดับ

            2484) ปี พ.ศ. 2495 ประเทศไทยมีถนนรวม 12,928 กิโลเมตร   สากล และประเทศไทย ถึงเวลาที่เกิดปัญหา เพราะสิ่งที่เราสร้าง
            (ใช้เวลาก่อสร้าง 40 ปี) ต่อมา รัฐจึงก�าหนดนโยบาย ก่อสร้าง  ขึ้นมา วิศวกรจ�าต้องมีบทบาทแก้ปัญหา ตัวอย่างพัฒนาการของ
            ทางหลวงแผ่นดินให้เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ ปี พ.ศ. 2498 องค์การ  ยวดยานพาหนะ โดยเฉพาะรถยนต์ จากการใช้สัตวฺต่าง (ม้า ลา
            บริหารวิเทศกิจของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา (USOM) ช่วยเหลือ  อูฐ) หรือสัตว์เทียมเกวียน เป็นรถยนต์พลังไอน�้า เมื่อรถยนต์เป็น
            วิชาการ และงบประมาณก่อสร้างทางหลวงแผ่นดินจากสระบุรี   เหล็ก มีเครื่องยนต์สันดาปภายใน ใช้น�้ามันเป็นเชื้อเพลิง ต้องการ
            ถึงนครราชสีมา (ถนนมิตรภาพ) ถือกันว่า ประวัติศาสตร์ทางหลวง  ถนนหนทาง หรือเส้นทางคมนาคม แต่ดูเหมือนว่า ยิ่งสร้างถนน
            ไทยยุคปัจจุบันเริ่มต้นแต่บัดนั้น งานทางหลวงในประเทศไทยรุดหน้า  จ�านวนรถยนต์ก็ยิ่งเพิ่มทวีคูณ เกิดปัญหาอุบัติเหตุ (ตาย บาดเจ็บ

            อย่างรวดเร็ว เหมือนมหัศจรรย์ ไม่น่าเชื่อว่า บางสายทาง ได้อาศัย  หรือทรัพย์สินเสียหาย) และสิ่งแวดล้อม (หมอก ควัน ไอเสีย อากาศ
            แนวเส้นทาง “ราชมรรคา”จากเมืองพระนคร สู่พิมายปุระ หรือ  เป็นพิษ) เศษซากรถยนต์ที่ยังไม่ท�าลาย หรือน�าเหล็กกลับมาใช้
            บางเส้นทาง เกือบจะซ้อนทับ “ถนนพระร่วง” (ระหว่าง สุโขทัย   กลายเป็นปัญหา วิศวกรรมแขนงใหม่ ๆ จึงเกิดขึ้น เพื่อแก้ปัญหา
            ศรีสัชชนาลัย และก�าแพงเพชร)                          และพัฒนาก้าวหน้า จนกลายเป็นวิศวกรรมหลัก อาทิ วิศวกรรม

                ตั้งแต่พระราชพิธีเปิดการเดินรถไฟระหว่าง สถานีกรุงเทพ -  จราจร (Traffic engineering) วิศวกรรมเมือง หรือการวางผังเมือง
            อยุธยา 71 กิโลเมตร  (พ.ศ. 2439) ต่อมา ระหว่างสมัยรัชกาล  (Urban engineering or urban planning) วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
            ที่หก ถึงรัชกาลที่แปด แม้ประเทศประสบปัญหาเศรษฐกิจ และเกิด  (Environmental engineering) แม้แต่กฎกระทรวงก�าหนด
            สงครามโลก ก็ยังก่อสร้างทางรถไฟได้ 2,581 + 497 และ 418 และ  สาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๖๕
            259 กิโลเมตร ตามล�าดับแล้วหยุดชะงักไปนาน ปัจจุบันเป็นห้วงเวลา  ออกโดยอาศัยอ�านาจตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542
            เร่งพัฒนา คงเกิดผลลัพท์ในเร็ววัน                     ให้ยกเลิก (1) กฎกระทรวงก�าหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและ
              ท่าเรือกรุงเทพ (ท่าเรือคลองเตย) ได้เริ่มออกแบบก่อสร้างตั้งแต่  วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 2550 (2) กฎกระทรวงก�าหนดสาขา

            พ.ศ. 2579 และได้ใช้งานมาจนกระทั่งมีท่าเรือน�้าลึกแหลมฉบัง และ  วิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
            ท่าเรืออีกหลายแห่ง แต่ก็น่าเสียดาย ที่ประเทศไทยมุ่งพัฒนาการ  2560 ก�าหนดให้สาขาวิศวกรรมอื่นดังต่อไปนี้เป็นวิชาชีพวิศวกรรม
            ขนส่งทางบก ละเลยการขนส่งทางน�้าไปมาก ทั้งที่มีต้นทุนถูก กอปร  (1) วิศวกรรมเกษตร (2) วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (3) วิศวกรรมเคมี
            กับสงครามโลกทั้งสองครั้ง จนในที่สุด แม้บริษัทเดินเรือทะเลที่รัฐเคย  (4) วิศวกรรมชายฝั่ง (5) วิศวกรรมชีวการแพทย์ (6) วิศวกรรม
            ร่วมทุนด�าเนินการ ก็มีอันต้องเลิกรา                  ต่อเรือ (7) วิศวกรรมบ�ารุงรักษาอาคาร (8) วิศวกรรมป้องกันอัคคีภัย



                                                                                  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565  วิศวกรรมสาร 25
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30