Page 26 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 26

ตอนที่ ๙ โบราณกับการเรียนรู้ ส�าเร็จ และล้มเหลว


          (9) วิศวกรรมปิโตรเลียม (10) วิศวกรรมพลังงาน
          (11) วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ (12) วิศวกรรม     วิธีสื่อสาร เรียนรู้ และความสัมพันธ์ของมนุษย์
          ยานยนต์ (13) วิศวกรรมระบบราง (14) วิศวกรรม     ที่เปลี่ยนไป

          สารสนเทศ (15) วิศวกรรมส�ารวจ (16) วิศวกรรม
          สิ่งแวดล้อม (17) วิศวกรรมแหล่งน�้า (18) วิศวกรรม    มนุษย์ยุคโบราณ แม้แทบเริ่มต้นจากศูนย์ ต้องเรียนรู้ ค้นคิด ค้นคว้า สร้าง

          อากาศยาน (19) วิศวกรรมอาหาร โดย ให้วิชาชีพ  ประดิษฐ์ทุกสิ่งทุกอย่าง ตั้งแต่ปัจจัยการด�ารงชีวิตพื้นฐาน จนถึงสิ่งอ�านวยความ
          วิศวกรรมในสาขาดังต่อไปนี้เป็นวิชาชีพวิศวกรรม  สะดวกสบาย (หรือบ้างเรียก เพิ่มคุณภาพชีวิต) เชื่อว่า มนุษย์โบราณ สื่อสาร
          ควบคุม (1) วิศวกรรมโยธา (2) วิศวกรรมเหมือง  และบันทึก การสื่อสารโบราณ อาจใช้วิธีง่าย ๆ อาทิ ก่อไฟ ใช้ควัน (วหนิคฤหะ
          แร่ (3) วิศวกรรมเครื่องกล (4) วิศวกรรมไฟฟ้า (5)  หรือบ้านมีไฟ หรือธรรมศาลา หรือที่พักคนเดินทาง สิ่งปลูกสร้างในอารยธรรม
          วิศวกรรมอุตสาหการ (6) วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม  ขอม ก็ก่อไฟ บอกให้คนรู้ที่ตั้ง) ใช้กระจก หรือโลหะสะท้อนแสง ใช้นกพิราบ
          (7) วิศวกรรมเคมี ฯลฯ                   สื่อสาร มีความพยายามประดิษฐ์ หรือสร้างภาษาสื่อสาร ทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน
            อย่างไรก็ตาม การแก้ปัญหา ก็คล้ายกับการ  (ตัวหนังสือ  รูปภาพ  หรือสัญลักษณ์)  เพื่อบันทึกความรู้สึกนึกคิด  ข่าวสาร

          วางแผน และพัฒนา คือต้องบูรณาการความรู้  ความทรงจ�า หรือเป็นหลักฐาน เราจึงได้อาศัยอ่านร่องรอยประวัติศาสตร์ จากลาย
          หลายศาสตร์ ความรู้ หรือวิศวกรรมศาสตร์  พิมพ์มือ ภาพเขียนสีบนผนังถ�้า ตัวอักษรรูปภาพ Hieroglyphic จารึกอักษร
          หลายสาขา หรือแขนง เป็น Multi-disciplines ซึ่ง  พราหมี ปัลวะ เทวนาครี มคธ สันสกฤติ ขอม หรืออักษรไทยหลายแบบ (รูปที่ 7)
          วิศวกรต้องร่วมมือแก้ปัญหาร่วมกับวิชาชีพอื่น ๆ  เชื่อว่า การเรียนรู้ ย่อมอาศัยการสื่อสาร




























                                       ก. ภาพเขียนสีบนหิน หรือผนังถ�้า (อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อ�าเภอโขงเจียม อุบลราชธานี)














                           ข. จารึกโบราณ (จารึกเจ้าจิตรเสน ภูหมาไน อ�าเภอโขงเจียม อุบลราชธานี – อนุเคราะห์โดย โชติชีวิน มิพล จารึกดงเมืองเตย
                            อ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว ยโสธร จารึกปราสาทถมอ อ�าเภอปรางกู่ ศรีสะเกษ จารึกในปราสาทพนมวัน อ�าเภอเมืองนครราชสีมา
                                           นครราชสีมา จารึกที่ปราสาทสระก�าแพงใหญ่ อ�าเภออุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ)
                                          รูปที่ 7 ตัวอย่างบันทึกโบราณในประเทศไทยให้เรียนรู้ เรื่องราว เหตุการณ์อดีต


          26 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31