Page 27 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 27
ตอนที่ ๙ โบราณกับการเรียนรู้ ส�าเร็จ และล้มเหลว
ในเชิงวิศวกรรม การสื่อสาร (Communicatioin) ก็หมายถึง อย่างไรก็ตาม คือสิ่งหนึ่งที่ทุกคนต้องยอมรับปรับตัวเข้ากับทักษะ
วิธี หรือระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร อาจสื่อสารทางเดียว เช่น ในศตวรรษที่ 21 (Creativity & Innovation, Communication &
วิทยุ โทรทัศน์ หรือสองทาง เช่น โทรศัพท์ สรุปสังเขปว่า ก่อนปี Collaboration, Research & Information, Digital Citizenship
ค.ศ. 1750 Smoke & Torch - ใช้การสื่อสารแบบไร้สาย เช่น ไฟ ควัน และ Research & Inovation)
แสงสะท้อน ค.ศ. 1596 เป็นยุคคลื่นวิทยุ หรือ RF Communication โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ถือเป็นการสื่อสารอย่างหนึ่ง ที่ต้องแปลง
ค.ศ. 1960 เป็นยุค Sattlelite ค.ศ. 1985 เป็นยุค Digital Cellular (Transform) ภาษามนุษย์ ให้เป็นภาษาเครื่อง (Assembly) เพื่อ
ปัจจุบัน การสื่อสาร มีสองระบบหลัก คือ Wireline เช่น สาย LAN สามารถประมวลผล หรือค�านวณ (Processing or computing)
(UTP Cale) ใยแก้วน�าแสง (Optical fiber) และระบบ Wireless ซึ่งปลายทาง มนุษย์วาดฝันว่า คอมพิวเตอร์ชาญฉลาดเหมือน
เช่น การใช้ Bar Code, Bluetooth, WiFi, RFID, Sattlelite ความเป็นมนุษย์ สามารถติดต่อสั่งการโดยใช้ภาษาพูด - Natural
การสื่อสาร หรือสื่อความหมาย คือความพยายามกระตุ้น ส่งสาร language processing) มนุษย์อาจใช้สีหน้า หรือกริยาท่าทาง (Body
(Message) ไปยังผู้รับสาร (Receiver) ให้เข้าใจเช่นเดียวกัน โดย language) ประกอบการสื่อสาร สนทนา ด้วยเหตุนี้ อีกไม่นาน
ค�าพูด (เสียง) หรือไม่เป็นค�าพูด เช่น เขียน สัญลักษณ์ ส่งสัญญาณ การสื่อสาร สนทนา ท�างาน เรียนรู้ แต่ละคน อาจกระท�าผ่านอวตาร
และอื่น ๆ องคาพยพการสื่อสาร – SMCR จึงประกอบด้วยผู้สื่อสาร ที่ถูกสร้างเลียนแบบตนเองขึ้นมาด้วยกล้องหน้าจอคอมพิวเตอร์
(Sender - ทักษะ ทัศนคติ ระดับความรู้ และสถานภาพ) ข่าวสาร โดยไม่จ�าต้องนั่งหน้าจอ คอมพิวเตอร์ตลอดเวลา กลายเป็นห้อง
(Message – เนื้อหา รูปแบบ) ช่องทาง หรือวิธีสื่อสาร (Channel - ประชุม หรือห้องเรียนที่มีแต่อวตาร ทั้งผู้เข้าร่มประชุม ผู้สอน ผู้เรียน
เห็น ได้ยิน สัมผัส กลิ่น รส) และผู้รับ (Receiver – ความรู้ ทักษะ ล้วนคือ อวตาร ที่ต่างคนส่งไปเป็นตัวแทน การประชุม การท�างาน
ทัศนคติ สถานภาพ) การเรียนรู้ ซึ่งต้องสื่อสาร ย่อมขึ้นกับ พื้น หรือการเรียน ย่อมไม่ต่างจากเกม บางคนเชื่อว่า มนุษย์จะท�างาน
ฐานความรู้ จิตใจ ส�านึก หรือความรู้สึกนึกคิด ประสบการณ์ ได้มากขึ้น ในเวลาเดียวกัน (Multi-tasks) แต่ความเป็นมนุษย์
อารมณ์ และสถานการณ์แวดล้อม ซึ่งจะท�าให้ผู้รับข้อมูลข่าวสาร ย่อมลดลง
สื่อความหมาย แปลความเหมือน หรือแตกต่างกันได้
ในสังคมเรียนรู้ ห้องเรียนย่อมมีบทบาท ห้องเรียนตามความคิด
ของปราชญ์กรีก Plato หรือ Socrates (428 - 348 และ 470 - 399 หากไม่เป็น มนุษย์โบราณ ต้องเป็น
ปีก่อนคริสตกาล) บอกว่า จะต้องเป็นสถานที่เหมาะสม (แสงสว่าง ประชากรโลกแบบใด
อากาศถ่ายเท สะอาด สงบ หรือไม่ถูกรบกวน) ห้องเรียนไม่ใหญ่
เกินควร (ผู้เรียนไม่เกิน 40 คน) วิธีเรียนที่สัมฤทธิ์ผล มีประสิทธิภาพ นอกจากทักษะในศตวรรษที่ 21 ที่กล่าวเบื้องต้นแล้ว เขาว่า
คือการถาม – ตอบ (Dialog) หรือ อาจใกล้เคียงกับค�า ปุจฉา วิสัชชนา มนุษย์อาจต้องมีความเป็น Digital Natives (ซึ่งตรงข้ามกับ
ปัจจุบันห้องเรียนแบบนี้ คงเห็นได้เฉพาะการวิสัชชนาธรรมของ Immigrants ได้แก่ Digital Refugee - ไม่ยอมรับรู้ ไม่เรียนรู้ Digital
พระธิเบต อย่างไรก็ตาม ห้องเรียนส�าหรับเด็กประถม มัธยม Voyagers - รู้ แต่ไม่ยอมใช้ Digital Immigrants - เริ่มเรียนรู้)
ยังเป็นไปตามนั้น ส�าหรับเด็กโต ในมหาวิทยาลัย การอบรมในองค์กร หลักสูตรในบางโรงเรียน หรือสถาบัน ถึงกับมี Digital Citizen
ปัจจุบันแตกต่างไป เช่น จ�านวนผู้เรียนมากขึ้น ห้องเรียนใหญ่ขึ้นมาก Cirriculum คือ กระบวนสอนการใช้ชีวิต และรู้เท่าทันของ Digital
อาจจุเป็นหลายร้อยคน ห้องเรียนมีภาวะน่าสบายเกินเรียน เช่น Citizenship (ประกอบด้วย Internet Safety, Privacy & Security,
โอ่โถง ปรับอากาศ ที่นั่งสบาย ทั้งคนเรียนคนสอนมีสื่อสนทนา Relationship & Communication, Cyber Bullying & Digital
หรือสื่อการเรียนรู้มากขึ้น ทั้งเครื่องขยายเสียง คอมพิวเตอร์ Drama, Digital Footprint & Reputation, Safe Immage &
เครื่องฉายแผ่นทึบ จอภาพ ล�าโพง อย่างไรก็ตาม วิถีใหม่ คือ Identity, Information Literacy, Creativity Credit & Copy
การท�างาน หรือการเรียนรู้จากบ้าน การท�างาน หรือเรียน Right) คือคุณลักษณะผู้ใช้คอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบันนั่นเอง (รู้เท่าทัน
On-line เปลี่ยนรูปแบบการสื่อสาร และสนทนาไปเกือบสิ้นเชิง รู้ใช้อย่างปลอดภัย ป้องกันข้อมูลตนเอง ไม่ใช้ข้อมูลผู้อื่นโดยไม่ได้
จะสื่อสารเรียนรู้ให้เข้าใจในทางเดียวกัน หรือตรงกัน ย่อมยากขึ้น รับอนุญาต ใช้งานแต่พอควร ระมัดระวัง Digital Footprint เคารพ
แม้จะมีค�ากล่าวว่า “ระยะทาง ไม่ใช่อุปสรรค” อย่างน้อย และมีมรรยาทในการใช้ข้อมูลของผู้อื่น ซึ่งอาจมีลิขสิทธิ เคารพให้
ต่างอยู่กันคนละที่ คนละสิ่งแวดล้อม บรรยากาศ และอารมณ์ เกียรติผู้อื่น)
ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565 วิศวกรรมสาร 27