Page 29 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 29
ตอนที่ ๙ โบราณกับการเรียนรู้ ส�าเร็จ และล้มเหลว
รุนแรงในศตวรรษที่ 21 ได้ (เช่น รู้เท่าทันการหลองลวงข้ามชาติ มีข้อสังเกตว่า แม้แต่แผนพัฒนาประเทศ มุ่งมองอนาคตไปได้ช่วง
ทางธุรกิจ ลงทุน Call Center ที่ก�าลังทวีความรุนแรงขณะนี้) เวลาหนึ่ง ก็ต้องหยุดทบทวนอดีต ความส�าเร็จ หรือไม่ส�าเร็จ เพื่อ
“ประเทศไทย 4.0” ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เป็น ปรับเป้าหมาย กระบวนพัฒนาให้เหมาะสม โบราณกับงานวิศวกรรม
“Reform in Action” ผลักดันปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ วิจัย พัฒนา ความส�าเร็จ หรือล้มเหลว ในภาพย่อส่วนลงมา คือ การสร้างคนไทย
และศึกษาพร้อม ๆ กัน และ “ประชารัฐ” ที่ผนึกก�าลังกับเครือข่าย เตรียมพร้อมผู้เรียน และวิศวกรแบบอย่างที่เหมาะสมที่สังคมไทย
พันธมิตรธุรกิจ วิจัย พัฒนา ฯ ต้องการ มีศักยภาพ และควมาสามารถช่วยพัฒนาประเทศ ที่ใช้จุด
แข็งอัตลักษณ์ไทย ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม ให้พึ่งพาตนเองได้
สามารถแข่งขันกับสากล รู้เท่าทัน มีภูมิคุ้มกันความเสี่ยง อยู่รอด
ท่ามสภาวการณ์ผันผวนของโลกปัจจุบัน
ตารางที่ 1 สรุปย่อแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 ถึงฉบับที่ 12
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ เนื้อหาสังเขป
ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2505–2509) รวบรวมแผนงานของทุกกระทรวงมุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ภายใต้กรอบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม เพิ่มระดับ
การพัฒนาอุตสาหกรรม ส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชนจากต่างประเทศ
ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510–2514) ก�าหนดให้ “สังคม” เป็นสาระส�าคัญควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจ ให้ความส�าคัญกับการพัฒนาก�าลังคน วางแผนการ
ศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการก�าลังคน ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ และเอกชนบทบาทของเอกชนในการพัฒนา
อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และบริการ การพัฒนาภูมิภาค และท้องถิ่น
ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515–2519) เร่งรัดการใช้ทรัพยากรของประเทศ ปรับปรุงโครงสร้างทางเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มผลิตผลทางการเกษตร และอุตสาหกรรม
โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ใช้ผลิตผลทางการเกษตร ส่งสริมการขยายตัวของอุตสาหกรรม และการส่งออกแทนการน�าเข้า
ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520–2524) มุ่งความเป็นธรรมในสังคมมากกว่าเศรษฐกิจขยายตัว กระจายรายได้ พัฒนาภูมิภาค และท้องถิ่น อนุรักษ์ทรัพยากร
สิ่งแวดล้อม เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในชนบท กระจายบริการพื้นฐาน พัฒนาสังคม
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525–2529) ต่อสู้กับ “ความยากจน”มุ่งพัฒนาอุตสาหกรรม ระดมความร่วมมือจากภาคเอกชน ปรับปรุงโครงสร้างเศรษฐกิจ
และการผลิตภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พัฒนาพลังงาน เร่งรัดการส่งออก ทบทวนกฎหมาย และระเบียบปฏิบัติ
เพื่ออ�านวยความสะดวกต่อธุรกิจเอกชน
ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530–2534) รักษาอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจ รองรับแรงงานที่จะเข้าสู่ตลาด เสริมสร้างความมั่นคง แก้ปัญหาเศรษฐกิจ มุ่งพัฒนาคน
เพื่อพัฒนาสังคมเมือง และชนบท (เมื่อเศรษฐกิจขยายตัวสูงเกินเป้าหมาย จึงได้ปรับแผนฯ โดยพัฒนาขีดความ
สามารถแข่งขันกับต่างประเทศ โครงสร้างพื้นฐาน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรมนุษย์ รัฐวิสาหกิจ
การเงิน และการคลัง)
ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535–2539) รักษาเสถียรภาพ การขยายตัวทางเศรษฐกิจให้เหมาะสม อย่างต่อเนื่อง สอดคล้องการปรับตัวของสังคมไทย
ให้เข้ากับระบบเศรษฐกิจสากล พัฒนา กระจายรายได้สู่ภูมิภาค ชนบท เร่งรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540–2544) พัฒนาประเทศแบบสังคมมีส่วนร่วม มีกระบวน และความเชื่อมโยง ปรับวิธีคิด กระบวนท�างานโดยก�าหนดวัตถุประสงค์
และเป้าหมายส�าคัญเฉพาะด้าน เป็นกรอบแผนสู่ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ติดตามประเมินผล พัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม
ให้สมดุล ยั่งยืนให้คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา ใช้เศรษฐกิจพัฒนาให้คนมีคุณภาพชีวิต ความสุข เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ
มากกว่าการเพียงการขยายตัว ก�าหนดเจ็ดยุทธศาสตร์ (พัฒนาศักยภาพของคน พัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมเอื้อต่อ
พัฒนาคน เสริมสร้างศักยภาพการพัฒนาภูมิภาค และชนบท ยกระดับคุณภาพชีวิตให้ทั่วถึง พัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ
สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิต จัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พัฒนาประชารัฐ และบริหารจัดการ)
ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565 วิศวกรรมสาร 29