Page 30 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 30
ตอนที่ ๙ โบราณกับการเรียนรู้ ส�าเร็จ และล้มเหลว
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ เนื้อหาสังเขป
ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545–2549) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา สร้างรากฐานงเศรษฐกิจ และสังคมให้เข้มแข็ง คุณภาพชีวิตดี
ขึ้น บรรเทาปัญหายากจน พึ่งตนเองได้ ยุทธศาสตร์เพื่อความอยู่ดีมีสุข บริหารจัดการดี พัฒนาคุณภาพคน สังคมชนบท
และเมือง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน เพิ่มขีดความสามารถแข่งขัน ความเข้มแข็งทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี ส่งเสริมวิจัย พัฒนา สามารถคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ใช้ภูมิปัญญาร่วมกับเทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ
ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550–2554) สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน คุณธรรมน�าความรอบรู้ รู้เท่าทันโลก พึ่งตนเองได้ ลดปัญหาความยากจนอย่างบูรณาการ
ปรับโครงสร้างผลิตสู่การเพิ่มคุณค่า สร้างภูมิคุ้มกัน และระบบบริหารความเสี่ยงการเงิน การคลัง พลังงาน ตลาดปัจจัย
ผลิต แรงงาน และการลงทุน โครงสร้างเศรษฐกิจที่แข่งขันได้ ภูมิคุ้มกันความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมในโลกาภิวัตน์
การออมเพียงพอ ปรับโครงสร้างการผลิต และบริการบนฐานความรู้ และนวัตกรรม ใช้จุดแข็งความหลากหลายทางชีวภาพ
และเอกลักษณ์ไทย ควบคู่เชื่อมโยงกับต่างประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ และคุณภาพสิ่งแวดล้อมมั่นคง อนุรักษ์ และใช้
ประโยชน์อย่างสมดุล ยั่งยืน เป็นธรรม รักษาผลประโยชน์ชาติจากข้อตกลงพันธกรณีระหว่างประเทศ บริหารจัดการ
มีธรรมาภิบาล ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม ฯ สมดุลในทุกมิติ บูรณาการ เป็นองค์รวม ยึดวิสัยทัศน์
ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เป็นเป้าหมาย บนรากฐานของสังคมไทย บนกรอบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ฐานผลิต และบริการ
เข้มแข็ง มีเสถียรภาพบนฐานความรู้ และความสร้างสรรค์ของคนไทย สร้างความมั่นคงอาหาร พลังงาน บนฐานทรัพยากร
และความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยั่งยืน หลักประกันทางสังคม บริการสาธารณะมีคุณภาพ
ลดความเหลื่อมล�้า กฎหมายเป็นธรรม มีธรรมภิบาล ครอบครัวมีสุข ชุมชนเข้มแข็ง อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข มี
ภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทัน และพร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลง มีบทบาทพัฒนา ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ สามารถแข่งขัน
ประเทศมั่นคง เชื่อมโยงกับประเทศภูมิภาค
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) ยังค�านึงสภาวะแวดล้อม การเปลี่ยนแปลง ความท้าทาย ความเสี่ยง เศรษฐกิจ ความเหลื่อมล�้าทางสังคม ทรัพยากร
การเมือง เทคโนโลยี การศึกษา การแข่งขัน การก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ ภัยธรรมชาติ และอื่น ๆ จากภายใน และภายนอก
ประเทศ ใช้หลักปรัชญางเศรษฐกิจพอเพียง ให้คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม สนับสนุน ส่งเสริมแนวคิด
ปฏิรูปประเทศ พัฒนาสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ใช้ความรู้ ข้อได้เปรียบในภูมิปัญญา
วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ ผสานให้เกิดประโยชน์ อยู่รอด และแข่งขันได้ในระดับ
สากล เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ระยะยาวของประเทศ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”
ได้กล่าวมาแล้ว จากตอนก่อน ๆ สืบเนื่องถึงตอนนี้ว่า ความรู้ บริการ และท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม) ได้ก�าหนดมาตรฐานคุณวุฒิ
และทักษะในวิชาชีพวิศวกรรม สั่งสมจากบทเรียนจากธรรมชาติ และ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ (มคอ.) ระดับปริญญาตรี (แสดงสรุปใน
อดีต ทั้งที่ส�าเร็จ และล้มเหลว เนื่องจากพิบัติภัย อุบัติภัย หรือความ ตารางที่ 2) โบราณ กับงานวิศวกรรมไทย ไม่เพียงเป็นเล่าเรื่องอดีต
ผิดพลาด ก�าเนิดงานวิศวกรรมหลากหลายสาขาในปัจจุบัน อาจเริ่ม อาจแทรกในกระบวนเรียนสอนวิศวกรรมศาสตร์ได้เกือบทุกวิชา
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือถ่ายทอดวิทยาการ เทคโนโลยีจากวิศวกร และเกือบทุกทักษะการเรียนรู้ห้าด้าน (เช่น ข้อที่พิมพ์ “ตัวเอียง”)
ต่างชาติ จนใช้ภูมิปัญญา อัตลักษณ์งานวิศวกรรมไทย เทคโนโลยีที่ ตั้งแต่พื้นฐานวิศวกรรม (เขียนแบบวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น)
เหมาะสม การพัฒนาที่ยั่งยืน ที่ผู้เรียนวิศวกรรมศาสต์ต้องตระหนัก วิชาชีพหลัก วิชาชีพเลือก เพราะอย่างน้อย ก็จะต้องบอกเล่าความ
และเรียนรู้ อีกทั้งส�านักงานการอุดมศึกษา (สกอ.) หรือกระทรวง เป็นมาของวิชา บทเรียน หรือกรณีศึกษาในอดีต ความส�าเร็จ ความ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมปัจจุบัน ก�าหนดสี่ภารกิจ ล้มเหลว ภารกิจ “ท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม” ดูจะห่างไกล หรือยาก
หลักของสถาบันศึกษา ถึงระดับหลักสูตร (การเรียนการสอน วิจัย ล�าบาก ส�าหรับหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ ย่อมไม่ห่างไกล และไม่ยาก
30 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565