Page 28 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 28

ตอนที่ ๙ โบราณกับการเรียนรู้ ส�าเร็จ และล้มเหลว


            โลกแห่งเทคโนโลยี เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน จนแทบไม่น่าเชื่อ หรือ  พรบ. คอมพิวเตอร์ [พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าผิดเกี่ยวกับ
          ยากแท้จะหยั่งถึง ผู้ที่เกิดในยุคเริ่มต้นของคอมพิวเตอร์ ได้รู้จัก  คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560] มีกระทรวงดิจิทัลเพื่อ
          คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เท่าห้อง ความจุมาก แต่ก็ไม่ได้มากมาน  เศรษฐกิจ และสังคมก�ากับดูแล พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วน
          มหาศาลเช่นปัจจุบัน ราคาแพงมหาศาล ท�างานได้จ�ากัด ใช้เวลานาน   บุคคล พ.ศ. 2562  - พรบ. PDPA - Personal Data Protection
          กลายเป็น Note Book ที่พัฒนาความเร็วไม่หยุดยั้ง พัฒนาความ  Act (พระราชกฤษฎีกา ขยายเวลาบังคับใช้พระราชบัญญัติ ฯ

          จุจากเมกะไบท์ พัฒนาเป็นจิกะไบท์ และเทอราไบท์ ตามล�าดับ  โดยจะเริ่มใช้เต็มรูปแบบในวันที่ 1 มิถุนายน 2565) ในอนาคต
          แต่ราคากลับมีแนวโน้มย่อมเยาว์ลง จากแผ่น Diskett ขนาดใหญ่   เชื่อว่า จะมีกฎหมายว่าด้วยเรื่องอื่น  ๆ ที่ต้องให้ทันยุคสมัย
          ค่อยเล็กลง กลายเป็น Handy Drive และเราก็ทันได้อยู่ในยุค Cloud  สถานการณ์ เพื่อคุ้มครองผู้สุจริต และความสงบเรียบร้อยของสังคม
          Technology ซึ่งมีคุณลักษณะ สมรถนะ เสมือนจริง (Virtualization)
          ค่าใช้จ่ายตามใช้จริง (On demand/ pay per use) มีพื้นที่ให้ใช้งาน
          หลากหลาย ตามความประสงค์ของผู้ใช้ (Sand box) ปรับ หรือขยาย     โบราณกับการพัฒนาประเทศ พัฒนาคน

          ขนาด ได้ตามสถานการณ์ (Scalable)
            เราอยู่ในห้วงเวลา Big Data ซึ่งมีคุณสมบัติ หรือสมรถนะ 5V    ในหัวข้อนี้ แสดงสองตาราง ที่เกี่ยวแก่การพัฒนาประเทศ และ
          (คือ Volume, Velocity, Variety, Variability และ Veracity)  พัฒนาคน เริ่มด้วย แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ เป็น
          ข้อมูลมหาศาลที่จะใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย เช่น วิเคราะห์ หรือ  แผนแม่บทมุ่งแก้ปัญหา พัฒนาประเทศ และคน อย่างมีระบบ สมดุล
          พยากรณ์แนวโน้ม และน�าไปสู่ Machine Learning (ซึ่งเปลี่ยนจากเดิม  ก้าวหน้า โดยนับวันจะเปลี่ยนไปตามพลวัตรของโลก มีค�าศัพท์แปลก

          Input Data + Program ผ่านคอมพิวเตอร์ ได้ Output เป็น Input  ใหม่มากมาย (ความสรุปในตารางที่ 1) เมื่อมองย้อนไปทบทวนอดีต
          Data + Output ผ่านคอมพิวเตอร์ ได้ Program) ความรู้ งาน Data  อาจแบ่งแผนฯ เป็นสี่ยุค คือ ประเทศไทย 1.0 (แผน ฯ 1–3)
          Science และ Business Intelligence (BI) หรืออัจฉริยะที่ใช้ในเชิง  ยุคเกษตรกรรม ผลผลิตใช้ยังชีพ และขายสร้างรายได้ ประเทศไทย 2.0
          ธุรกิจทวีความส�าคัญ อาทิ วิเคราะห์พฤติกรรมของลูกค้า หรือตลาด  (แผน ฯ 4–7) ยุคอุตสาหกรรมเบา พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อ
          คาดคะเนแนวโน้มของอุปสงค์ หรือตลาด  Internet of Things -  จูงใจการลงทุนจากต่างประเทศ ใช้เครื่องจักรทดแทนแรงงาน
          IOT หรือการท�าให้ทุกอย่างเป็น Internet (Internet everything)  ประเทศไทย 3.0 (แผน ฯ 8–11) แม้จะขับเคลื่อนโดยอุตสาหกรรม
          อ�านวยความสะดวกสบายในชีวิตประจ�าวันมากขึ้น มนุษย์มีแนวโน้ม  หนัก ใช้ทั้งแรงคน และเครื่องจักร และส่งออกมากขึ้น เศรษฐกิจ

          ใช้ความคิด และความพยายามน้อยลง เรามุ่งสู่ BLOCKCHAIN -  ขยายตัวมาก อย่างต่อเนื่อง แต่ยังไม่ท�าให้ประเทศหลุดพ้นจากกับดัก
          Cashless society สังคมที่ไม่ใช้เงินตรา ที่เป็นธนบัตร หรือเหรียญ  รายได้ปานกลาง ประเทศไทย 4.0 (แผน ฯ 12 – ปัจจุบัน) จะเปลี่ยน
          ซึ่งซื้อขาย จ่าย โอนกันได้ด้วยเพียงโทรศัพท์มือถือ นวัตกรรม หรือ  เป็นเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม บนฐานความรู้ เทคโนโลยี
          เทคโนโลยีการเงิน (Financial Technology - Fin Tech) ทรัพย์สิน  พัฒนาภาคบริการ การปฏิรูปการวิจัยพัฒนา  ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
          และสกุลเงิน Digital  เขาว่าคนไม่รู้จะตกยุค แต่คนรู้ ถูกหลอกลวง  ไปสู่ “Value –Based Economy” (เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วย

          ก็ไม่น้อย                                           นวัตกรรม โดย เปลี่ยนจากผลิตสินค้าโภคภัณฑ์ไปสู่สินค้าเชิง
            นอกจากประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ และประมวล  นวัตกรรม เปลี่ยนการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม
          กฏหมายอาญา ปัจจุบันมีกฎหมายรองรับการเปลี่ยนแปลงของโลก  ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และ
          แม้จะยังไม่ครบถ้วน แต่นับว่าไม่น้อยเลย คือ พระราชบัญญัติ  นวัตกรรม) และเปลี่ยนจากภาคการผลิตสินค้าเป็นภาคบริการ
          ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 [พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558   มากขึ้น เปลี่ยนไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ เน้นบริหารจัดการเทคโนโลยี
          พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์   (Smart Farming) เกษตรกรเป็นผู้ประกอบการ เปลี่ยนจาก

          (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 5)] พ.ศ.  Traditional SMEs หรือ SMEs ที่รัฐต้องช่วยเหลือตลอดเวลา
          2565 พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 [พระราชบัญญัติสิทธิบัตร   ไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ Startups บริษัทเกิดใหม่
          (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 และ พระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3)  ที่มีศักยภาพสูง  เปลี่ยนจาก Traditional  Services (High
          พ.ศ. 2542] โดยมีกรมทรัพย์สินทางปัญญา ก�ากับดูแล พระราช  Value Services) เปลี่ยนแรงงานให้ มีความรู้ เชี่ยวชาญ ทักษะสูง
          บัญญัติว่าด้วยการกระท�าผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 -  ประชาชาติรับโอกาส รับมือภัยคุกคามใหม่ ที่เปลียนแปลงรวดเร็ว



          28 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33