Page 37 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 37

อธิบายกลไกการเกิดเหตุการณ์คานคอนกรีตอัดแรงหน้าตัด
                                                รูปตัวไอบนสะพานกลับรถ ถนนพระรามที่ 2 หลักกิโลเมตรที่ 34 พลิกหล่นใส่รถที่สัญจรด้านล่าง


              (1) ลักษณะการวางแผ่นรองรับ (Bearing Pad) บนบริเวณบ่ารองรับ (Ledge) ที่ยื่น  จะส่งผลกระทบต่อหลายปัจจัย เช่น มูลค่า
                ออกมาจากคานแนวขวางบริเวณหัวเสา                                     การก่อสร้าง (ระยะของสะพานอาจจะมากขึ้น
              (2) ลักษณะคานคอนกรีตอัดแรงที่ยกติดตั้ง วางเข้าที่เป็นที่เรียบร้อยแล้ว   ในการที่จะคงให้ระดับความชันเท่าเดิม)
              (3) การก่อสร้างคานขวางส�าหรับช่วยเสริมเสถียรภาพบริเวณปลายคาน (End   ปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับระบบสาธารณูปโภคอื่น
                Diaphragm) และบริเวณกลางช่วง (Intermediate Diaphragm) พร้อมทั้งได้แสดง  หรือสะพานอื่น ๆ โดยรูปที่ 5 เป็นการแสดง

                วิธีการวางแผ่นกระดานพื้นคอนกรีตอัดแรง (PC Plank) วางพาดระหว่างคาน  ภาพเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่าง
                คอนกรีตอัดแรงรูปตัวไอ เพื่อใช้เป็นแบบหล่อพื้น                      ของความสูงสะพานสองตัวที่ใช้คาน
              เมื่อท�าการยกวางคานคอนกรีตอัดแรงหน้าตัดรูปตัวไอเรียบร้อยแล้ว ผู้ก่อสร้างจะผูกเหล็ก  แบบบากปลาย  (Dapped-end)  และ
            และท�าแบบหล่อคานขวางส�าหรับเสริมเสถียรภาพ หรือ Diaphragm (รูปสี่เหลี่ยมสีเขียวและ  ไม่บากปลาย ซึ่งมีระยะความสูงที่ใช้งานได้
            สีน�้าเงินในรูปที่ 3) ซึ่งจะท�าหน้าที่ยึดรั้งคานคอนกรีตอัดแรงซึ่งมีช่วงยาวเข้าด้วยกัน เพื่อให้  (Clear  Height)  ที่เท่ากัน  นอกจากนี้

            เกิดเสถียรภาพ (Stability) ไม่ให้คานโก่งเดาะในเวลาที่มีน�้าหนักบรรทุกกระท�าดังภาพวาด  ผลพลอยได้จากการเลือกใช้ลักษณะปลาย
            ตัวอย่างการโก่งเดาะของคานที่เสียเสถียรภาพในรูปที่ 4                    คานที่มีการบากคือ ช่วยให้เสริมเสถียรภาพ
              ส�าหรับเหตุผลของการใช้รายละเอียดโครงสร้างที่มีการบากที่ปลายคานบริเวณต�าแหน่ง  ของโครงสร้างดีขึ้น เนื่องจากระดับของจุด
            จุดรองรับ คือเพื่อลดระดับความสูงโดยรวมของสะพานลง ซึ่งความสูงโดยรวมของสะพาน  รองรับอยู่สูง (เมื่อเทียบกับจุดศูนย์กลาง





















                รูปที่ 4 การเสียเสถียรภาพของคานที่มีช่วงยาวจากการที่คานสามารถขยับตัวทางด้านข้าง
                                   (ตั้งฉากกับแนวแกน) และบิดได้

























                   รูปที่ 5 ภาพเปรียบเทียบรูปด้านของสะพานที่ก่อสร้างด้วยคานสะพานที่มีลักษณะ
                        ที่ปลายแตกต่างกัน (ปลายบากด้านซ้าย และปลายไม่บากด้านขวา)


                                                                                  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565  วิศวกรรมสาร 37
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42