Page 38 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 38

อธิบายกลไกการเกิดเหตุการณ์คานคอนกรีตอัดแรงหน้าตัด                                                                                                                                    อธิบายกลไกการเกิดเหตุการณ์คานคอนกรีตอัดแรงหน้าตัด
            รูปตัวไอบนสะพานกลับรถ ถนนพระรามที่ 2 หลักกิโลเมตรที่ 34 พลิกหล่นใส่รถที่สัญจรด้านล่าง                                                                         รูปตัวไอบนสะพานกลับรถ ถนนพระรามที่ 2 หลักกิโลเมตรที่ 34 พลิกหล่นใส่รถที่สัญจรด้านล่าง

          ของมวลในระนาบตัด) ตามที่แสดงไว้ในรูปที่ 6 ท�าให้คานที่มีปลายบากล้มได้ยากกว่าคานแบบ  รูปตัวไอและมีการเสริมเหล็กตะแกรง
          ไม่บากปลาย อย่างไรก็ดี บริเวณที่มีการบากจะมีพฤติกรรมที่ซับซ้อน เพราะเป็นมุม ซึ่งจะมีการ  สองชั้น (เหล็กบนและเหล็กล่าง) โดย
          กระจุกตัวของความเค้น (Stress Concentration) และจะเป็นจุดที่เสี่ยงต่อการเสียหายถ้าหาก  ทางฝั่งซ้ายและขวามือ จะมีแผ่นผนัง
          ออกแบบเสริมเหล็กไว้ไม่เพียงพอ                                            คอนกรีตกันตก (Parapet) ติดตั้งด้วย
            จากภาพตัดระบบพื้นสะพานในรูปที่ 7 จะเห็นหน้าตัดคานรูปตัวไอ ซึ่งถูกยึดโยงเข้าด้วย  การยึดกับพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก ทั้งนี้

          กันด้วยคานขวางส�าหรับเสริมเสถียรภาพ (Intermediate Diaphragm) โดยช่วงระหว่างคาน  ผู้เขียนได้แสดงภาพถ่ายจากโครงสร้าง
          หน้าตัดรูปตัวไอนั้น จะมีการวางพาดแผ่นกระดานคอนกรีต (PC Plank) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อใต้  จริงจากแบบก่อสร้างลักษณะเดียวกัน
          ท้องพื้นแบบถาวร (ปล่อยให้ยึดติดอยู่กับโครงสร้าง) โดยพื้นถนนจะวางอยู่ด้านบนคานหน้าตัด  ในรูปที่ 8




























          รูปที่ 6 ภาพตัดเปรียบเทียบต�าแหน่งของจุดศูนย์กลางมวลกับระดับของบ่ารองรับคานคอนกรีตอัดแรง (ก)
                        คานแบบที่ไม่มีการบากปลาย (ข) คานแบบที่มีรอยบากปลาย

































             รูปที่ 7 ภาพตัดสะพานบริเวณกึ่งกลางช่วงเสาซึ่งแสดงองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบพื้นสะพาน
                                     (Bridge Deck System)


          38 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43