Page 52 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 52
รถโบกี้ไฟฟ้าก�าลังปรับอากาศ (Power Car) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
กับการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในระบบการขนส่งทางรางและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
การทดสอบรถไฟฟ้าก�าลังในการใช้งานจริง
การทดสอบวิ่งจริง (Running Test) เป็นการทดสอบเพื่อประเมิน ทั้งขาไปและกลับซึ่งมีระยะทางรวมประมาณ 1400 กิโลเมตร ณ วันที่
สมรรถนะรถไฟฟ้าก�าลังภายใต้การใช้งานจริง โดยท�าการพ่วงตู้ 14 มกราคม พ.ศ. 2562 โดยได้ผลส�าเร็จของการทดสอบดังต่อไปนี้
รถไฟฟ้าก�าลังเข้ากับขบวนรถโดยสารและท�าการจ่ายไฟฟ้าให้แก่ ระดับการสั่นสะเทือนบนรถไฟฟ้าก�าลังบนเส้นทางทดสอบ
ตู้อื่น ๆ ซึ่งระหว่างการทดสอบได้ท�าการบันทึกถึงปริมาณการใช้น�้ามัน ทั้งไปและกลับ
เชื้อเพลิงและการปล่อยมลพิษ นอกจากนี้ยังได้มีการตรวจวัดการ ผลการประเมินความปลอดภัย (Running Safety) และ
สั่นสะเทือนบนรถไฟขณะวิ่งด้วยความเร็วบนเส้นทางทดสอบทั้งขาไป พฤติกรรมของการวิ่ง (Running Behavior) ตามมาตรฐาน
และกลับ โดยผลการตรวจวัดได้ถูกน�าไปใช้ในการประเมินความ UIC-518 [1]
ปลอดภัย (Running Safety) และพฤติกรรมของการวิ่ง (Running ผลการประเมินความสะดวกสบายของการโดยสาร (Riding
Behavior) ตามมาตรฐาน UIC-518 Simplified Acceleration Comfort) ตามข้อก�าหนดของการรถไฟฯ
Method [1] ทั้งนี้ ในส่วนของการประเมินความสะดวกสบายของ ปริมาณน�้ามันเชื้อเพลิงที่ใช้ลดลงต่อขบวน เปรียบเทียบกัน
การโดยสาร (Riding Comfort) นั้นได้ด�าเนินการตามข้อก�าหนด ในกรณีที่ใช้และไม่ใช้รถไฟฟ้าก�าลัง
ของการรถไฟฯ ผลต่างการปล่อยปริมาณ Carbon ออกสู่สิ่งแวดล้อม
การทดสอบได้ถูกด�าเนินการต่อรถไฟฟ้าก�าลังหมายเลข บฟก.ป. เปรียบเทียบกันในกรณีที่ใช้และไม่ใช้รถไฟฟ้าก�าลัง
1101 โดยท�าการวิ่งจริงบนเส้นทางทดสอบกรุงเทพ-เชียงใหม่
รูปที่ 14. รถไฟฟ้าก�าลังที่เสร็จสมบูรณ์ ก�าลังท�าขบวนทดสอบวิ่งจริง (running test) ไปยังสถานีเชียงใหม่
52 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565