Page 51 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 51
รถโบกี้ไฟฟ้าก�าลังปรับอากาศ (Power Car) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
กับการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในระบบการขนส่งทางรางและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
รูปที่ 12. รูปแบบการด�าเนินการวิเคราะห์ทางพลศาสตร์เพื่อประเมินสมรรถนะด้านความปลอดภัยและพฤติกรรมในการวิ่งตามมาตรฐาน UIC-518
รูปที่ 13. ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ทางพลศาสตร์ของรถไฟฟ้าก�าลัง เพื่อประเมินสมรรถนะด้านความปลอดภัยและพฤติกรรมในการวิ่งตามมาตรฐาน UIC-518
งานระบบและอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนรถไฟฟ้าก�าลัง ชุดควบคุมเครื่องยนต์ของเครื่องก�าเนิด
รถไฟฟ้าก�าลังมีหน้าที่หลักในการจ่ายกระแสไฟฟ้ารวมทั้งลมอัดให้แก่รถคันอื่น ๆ ไฟฟ้าที่ตั้งค่าโปรแกรมได้ โดยชุดควบคุม
ในขบวน ซึ่งจ�าเป็นต้องมีการติดตั้งระบบเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนี้ ของเครื่องยนต์ทั้งสองเครื่องจะมีการ
เครื่องยนต์ดีเซลจ�านวน 2 เครื่องส�าหรับขับเครื่องก�าเนิดไฟฟ้าโดยเฉพาะ โดยต้อง สื่อสารระหว่างกัน โดยสามารถแบ่งจ่าย
สามารถท�างานอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้สภาพภูมิอากาศของประเทศไทย รวมทั้ง ภาระได้ทั้งแบบเดินเครื่องยนต์เดียวหรือ
มีระบบควบคุม (Control Unit) ป้องกันการท�างานของเครื่องยนต์แต่ละเครื่อง เดินเครื่องยนต์ทั้งคู่ได้เช่นกัน ซึ่งระบบ
ในกรณีเครื่องยนต์ผิดปกติโดยเครื่องยนต์จะดับเองอัตโนมัติ จะมีการตรวจสอบถึงความต้องการในการ
ใช้พลังงานโดยอัตโนมัติและสั่งการให้
เครื่องก�าเนิดไฟฟ้า (Alternator) ซึ่งสามารถผลิตก�าลังกระแสไฟฟ้าสลับ (Prime เครื่องยนต์ท�างานในลักษณะที่แบ่งชั่วโมง
Power) ได้อย่างต่อเนื่อง และมีการควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟ้าให้มีความเสถียรตั้งแต่ การท�างานของทั้งสองเครื่องยนต์ให้มี
ระดับ No Load ถึง Full Load ระดับที่ใกล้เคียงกัน เพื่อลดการสึกหรอ
ของเครื่องยนต์และเครื่องก�าเนิดไฟฟ้า
ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 กันยายน-ธันวาคม วิศวกรรมสาร 51