Page 31 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 31
ตอนที่ ๙ โบราณกับการเรียนรู้ ส�าเร็จ และล้มเหลว
ตารางที่ 2 ผลการเรียนรู้ทั้งห้าด้านของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ ตามเกณฑ์ของส�านักงานการอุดมศึกษา (สกอ.) เดิม หรือกระทรวง
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมปัจจุบัน
ทักษะ ข้อย่อย
1. คุณธรรม จริยธรรม (1) เข้าใจ ซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักคุณค่าระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม
(3) มีภาวะป็นผู้นา และผู้ตาม สามารถท�างานเป็นทีม และแก้ไขข้อขัดแย้งตามลาดับความสาคัญ
(4) เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น เคารพคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(5) เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับ ขององค์กร และสังคม
(6) สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
(7) มีจรรยาบรรณวิชาการ และวิชาชีพ ความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ
(8) เข้าใจบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
2. ความรู้ (1) รู้ และเข้าใจคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับงาน
วิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
(2) รู้และความเข้าใจหลักการ และทฤษฎีส�าคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษา กับความรู้ศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(4) สามารถวิเคราะห์ และแก้ปัญหา โดยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
(5) สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาของตน ประยุกต์แก้ไขปัญหางานจริงได้
3. ทักษะทางปัญญา (1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
(2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ สรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ
(3) สามารถคิด วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ
(4) มีจินตนาการ ยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องเหมาะสม พัฒนานวัตกรรม หรือองค์ความรู้ต่อยอดได้อย่าง
สร้างสรรค์
(5) สามารถค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทันการเปลี่ยนแปลงองค์ความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ที่เกี่ยวข้อง
4. ทักษะความสัมพันธ์ (1) สามารถสื่อสารกลุ่มคนหลากหลาย สนทนาภาษาไทย และภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
ระหว่างบุคคลและ (2) สามารถช่วยเหลืออ�านวยความสะดวก แก้ปัญหา สถานการณ์ในกลุ่ม ทั้งเป็นผู้น�า หรือผู้ร่วมงาน
ความรับผิดชอบ (3) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์ ชี้น�าสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
(4) รับผิดชอบในการกระท�าของตนเองแและรับผิดชอบงานกลุ่ม
(5) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ ส่วนตัว และส่วนรวม แสดงจุดยืนตนเอง และกลุ่มอย่างพอเหมาะ
(6) สามารถวางแผน และรับผิดชอบพัฒนาการเรียนรู้ ทั้งของตนเอง สังคม และวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
(7) รู้จักบทบาท หน้าที่ รับผิดชอบงานที่รับมอบหมาย ทั้งงานบุคคล และงานกลุ่ม ปรับตัว ท�างานร่วมกับผู้อื่น ในฐานะผู้น�า
และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ วางตัวเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
(8) มีจิตสานึก รับผิดชอบความปลอดภัยในการท�างาน สามารถค้นคว้าข้อมูล และใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ท�างานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
5. ทักษะการวิเคราะห์ (1) มีทักษะใช้เครื่องมือที่จ�าเป็นที่มีอยู่ปัจจุบัน ต่อการท�างานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เชิงตัวเลข การสื่อสาร (2) สามารถแนะน�าประเด็นแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่าง
และการใช้เทคโนโลยี สร้างสรรค์
สารสนเทศ (3) สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่า เขียน ใช้รูปแบบของสื่อน�าเสนออย่างเหมาะสม
(4) สามารถใช้สารสนเทศ และเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
(5) สามารถ และความมั่นใจในการสรุปผลทดลองศึกษา ในสาขาที่เกี่ยวข้อง
(6) มีทักษะสื่อสารข้อมูล ทั้งพูด เขียน และสื่อความหมายโดยรูปภาพ
(7) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยในงานวิศวกรรมได้
(8) สามารถใช้เครื่องมือค�านวณ เครื่องมือวิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง
ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565 วิศวกรรมสาร 31