Page 32 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 32
ตอนที่ ๙ โบราณกับการเรียนรู้ ส�าเร็จ และล้มเหลว
ส่งท้าย (เช่น ไม่ได้ยึดติดกับหลังคาทรงไทย ลายกนก หางหงส์ ช่อฟ้า ใบระกา
ไม่เสนอความรู้สึกครอบครองเป็นเจ้าของแต่ผู้เดียวในศิลปวัฒนธรรม
งานวิศวกรรม ย่อมมีรากฐานหลักวิชาการ และทักษะวิชาชีพ เช่น โขน หรือชุดไทย) แต่ย่อมมีหลักการ เหตุผลอันสมควร นอกจาก
มีบทเรียน หรือกรณีศึกษาดาษดื่น ทั้งสากล และในประเทศไทย มีทั้ง จะค�านึงความมั่นคงแข็งแรงแล้ว ยังต้องค�านึงประโยชน์ใช้สอย ความ
ส�าเร็จ และล้มเหลว บทความนี้ จึงร้อยเรียงความเป็นมาโดยล�าดับ ประหยัด ความยั่งยืนในการใช้ทรัพยากร และคุณค่าสร้างสรรค์
สลับแทรกทั้งเหตุการณ์ในสากล และประเทศไทย ยกตัวอย่างที่พอ ผลงานให้แก่อนุชนรุ่นหลังสืบไป (รูปที่ 8 ประกอบค�าอธิบาย หวัง
จะเห็น หรือเข้าใจง่าย แต่ไม่จงใจระบุความผิดพลาดล้มเหลวของผู้ใด ท่านเข้าใจแล้วว่า โบราณกับงานวิศวกรรม ไม่ได้มุ่งแสดง หรือ
จนมีรายละเอียดอันจะเป็นการก้าวล่วง ทั้งนี้ เพราะเหตุการณ์ผ่านมา ปลูกฝังให้ท่านโบราณ หรือล้าหลัง กลับกัน ปรารถนาให้ท่านก้าว
แล้ว ย่อมมีกระบวน หรือปรากฏผลสืบเนื่องแล้ว แต่ยกกล่าวเพียงให้ ไกลไปข้างหน้า อย่างมีเหตุผล มีรากฐานความคิด เช่นการศึกษาวิจัย
ท่านนึกคิดจดจ�าเป็นอนุสรณ์สติ โบราณกับงานวิศวกรรม ไม่ได้บอกว่า ต้องทบทวนวรรณกรรมดี นั่นแล – สวัสดีครับ)
ทุกอย่างต้องยึดติดกับรูปแบบอย่างไม่ยืดหยุ่น ไม่เปลี่ยนแปลง
ก. ขนาด หรือมาตราส่วนที่ไม่จ�าต้องอลังการณ์ แต่คงอยู่อย่างสมถะ (เจดีย์วัดพระแก้ว อ�าเภอสรรพยา ชัยนาท ขนาดไม่ใหญ่โต สัดส่วนงดงามเป็น “ราชินี
แห่งเจดีทั้งปวง” - อนุเคราะห์โดย พีระพล ศรีกุลวงศ์ ศาลาเล็ก วัดเขาโบสถ์ อ�าเภอเมืองระยอง ระยอง ยืนหยัด โดดเด่นในความเงียบสงบ - อนุเคราะห์
โดย ศิโรจน์ บุญธาราม และ SK Mrnattifotosports และศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานีหลังเดิม ใช้เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอุบลราชธานี)
ข. รูปแบบแฝงความเป็นไทย แต่ประยุกต์อย่างเข้าใจบริบทใช้สอย พลังงาน และสิ่งแวดล้อม (โบสถ์วัดศาลาลอย อ�าเภอเมืองนครราชสีมา นครราชสีมา
“รางวัลสถาปัตย์กรรมดีเด่น ฯ” – อนุเคราะห์โดย ศุภวิชญ์ กุลประดิษฐ์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินครราชสีมา อ�าเภอเมืองนครราชสีมา นครราชสีมา
แยบยลเรื่องรักษาความปลอดภัย และความอยู่รอด เมื่อมีอุทกภัย สระน�้า ช่วยพาความร้อนระบายอากาศแบบ “Passive” และรองรับการระบายน�้า
ผิวดิน ศาลาทางหลวงแบบมาตรฐานหนึ่งของกรมทางหลวง “มีความเป็นไทย ภาะน่าสบาย ปลอดภัย บ�ารุงรักษาง่าย”- อนุเคราะห์โดย ศราวุธ มั่งศุภกิตติ์
จิรวุฒิ กล�่ามาตย์ ณัฐวัตร จินดาสวัสดิ์ และสุนันท์ เจริญชัยสกุล)
32 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565