Page 33 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 33
ตอนที่ ๙ โบราณกับการเรียนรู้ ส�าเร็จ และล้มเหลว
ค. ใช้วัสดุท้องถิ่น บอกอัตลักษณ์ (อาคารไม้ชั้นเดียว โรงเรียนเสมา อ�าเภอโนนสูง นครราชสีมา อาคารยกพื้น ชั้นเดียว หลังคาสังกะสี ไม่ปรับอากาศ
เรียบง่าย ประหยัด และปลอดภัยดีส�าหรับเด็กระดับอนุบาล และประถม อาคารโรงอาหาร โรงเรียนเมืองเดช โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
อาคารไม้ยกพื้น หลังคาสังกะสีคุ้มแดดฝน เปิดโล่ง แสงแดดสว่างธรรมชาติ อากาศถ่ายเท เพียงพอใช้งานได้ดี ส�าหรับเด็กระดับอนุบาล และประถม
อาคารท่าอากาศยานสมุย “รางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น” ใช้อัตลักษณ์ท้องถิ่น เสารูปต้นมะพร้าว ลายทางมะพร้าว หลังคาแฝก ไม่ปรับอากาศ มีชื่อเสียง
เป็นที่ชื่นชอบของนักท่องเที่ยว – อนุเคราะห์โดย เกรียงไกร ค�าพา)
ง. เพียงพอ และยั่งยืน (อาคารสถานีห้วยทับทัน อ�าเภอทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ หนึ่งในตัวอย่างสถานีขนาดเล็ก กระทัดรัดในชุมชน ให้รถไฟเป็นระบบ
ขนส่งสาธารณะของท้องถิ่นมาร่วมร้อยปี บ�ารุงรักษาดี ยังมีเสน่ห์คุณค่า หากประสงค์ ย่อมใช้งานต่อไปได้ ที่ว่าการอ�าเภอสามโคก ปทุมธานี หลังเดิม
บ�ารุงรักษาอยู่ในสภาพดี แม้เลิกใช้ แต่ปรับเปลี่ยนประโยชน์ใช้สอยได้อย่างมีคุณค่า บ้านพักราชการแห่งหนึ่ง ใช้ตรรกออกแบบลึกซึ่ง ใต้ถุนโล่งมีครัว
ห้องน�้า และอเนกประสงค์ ชาเรือนชั้นบนโล่ง อเนกประสงค์ มีเก้าอี้เอกเขนก ไม่ปรับอากาศ เพียงพออยู่อาศัยส�าหรับครอบครัวขนาดเล็กถึงขนาดกลาง)
รูปที่ 8 โบราณกับงานวิศวกรรมไทย ไม่ได้ยึดติดเฉพาะรูปแบบความเป็นไทย แต่มีหลายองค์ประกอบ อธิบายอัตลักษณ์ไทย และความสามารถเชิงช่างไทย
ลึกซึ้งแยบยล
ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565 วิศวกรรมสาร 33