Page 36 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 36
อธิบายกลไกการเกิดเหตุการณ์คานคอนกรีตอัดแรงหน้าตัด อธิบายกลไกการเกิดเหตุการณ์คานคอนกรีตอัดแรงหน้าตัด
รูปตัวไอบนสะพานกลับรถ ถนนพระรามที่ 2 หลักกิโลเมตรที่ 34 พลิกหล่นใส่รถที่สัญจรด้านล่าง รูปตัวไอบนสะพานกลับรถ ถนนพระรามที่ 2 หลักกิโลเมตรที่ 34 พลิกหล่นใส่รถที่สัญจรด้านล่าง
ภาพรวมโครงสร้างสะพานกลับรถและการก่อสร้าง
รูปที่ 2 เป็นรูปด้านของโครงสร้างสะพานลอยกลับรถแบบที่ ช่วยลดทอนการยึดรั้งดังกล่าวแล้ว อาจจะก่อให้เกิดการเสียหาย
ใช้คานคอนกรีตอัดแรงหน้าตัดรูปตัวไอ (Prestressed I-Girder) ต่อโครงสร้างจากการยืดหดตัวตามแนวยาวของโครงสร้างได้
ในการก่อสร้าง ซึ่งจะเริ่มต้นก่อสร้างโดยการท�าเสาเข็มเจาะ (Bored เมื่อติดตั้งแผ่นยางเรียบร้อยแล้ว จะท�าการยกคานคอนกรีต
Pile) แล้วจึงผูกเหล็กเสริมและหล่อแป้นหัวเข็ม (Pile Cap) อัดแรงหน้าตัดรูปตัวไอ (Prestressed I-Girder) ขึ้นวางบนแผ่นยาง
ซึ่งเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีความหนามาก (มีความต้านทาน รองรับที่เตรียมไว้ (รูปที่ 3) ทั้งนี้ สาเหตุที่ใช้วิธีการก่อสร้างด้วย
การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง หรือ Rigidity สูง จึงเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ระบบคอนกรีตอัดแรงหล่อส�าเร็จก็เพื่อให้มีการปิดการจราจรน้อย
ได้น้อยมากภายใต้แรงกระท�าที่สภาวะการใช้งานจริง) ใช้ในการ ที่สุด เนื่องจากโครงสร้างคานคอนกรีตอัดแรงรูปตัวไอจะถูกหล่อ
กระจายแรงเข้าสู่เสาเข็มแต่ละต้นให้เป็นไปตามสมมติฐานซึ่งมักใช้ ส�าเร็จรูปไว้แล้วจากโรงงาน และจะถูกขนส่งมาพื้นที่ก่อสร้างแล้ว
ในการออกแบบทั่วไป (Rigid Pile Cap) ยกติดตั้งในช่วงเวลากลางคืนที่มีการจราจรเบาบาง ซึ่งต่างกับวิธี
จากนั้นจึงท�าการก่อสร้างเสาตอม่อ (Pier) และคานแนวขวาง การก่อสร้างโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กธรรมดาที่จะต้องมีการ
บริเวณหัวเสา (Cross Beam หรือ Pier Cap) ซึ่งมีบ่าคาน (Ledge) ตั้งนั่งร้านและแบบหล่อไว้ถาวร ซึ่งจะรบกวนการจราจรในพื้นที่ด้าน
แล้วจึงติดตั้งแผ่นยางที่จุดรองรับคาน (Bearing Pad) ซึ่งจะช่วย ใต้จุดก่อสร้างเป็นระยะเวลาหลายอาทิตย์กว่าที่จะถอดแบบและ
ให้ระบบพื้นซึ่งหล่ออยู่คานคอนกรีตอัดแรง สามารถยืดหดตัว รื้อนั่งร้านเพื่อเปิดช่องจราจรกลับดังเดิม ส่วนสาเหตุที่ใช้หน้าตัด
อันเนื่องจากอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดล้อมได้ คานเป็นรูปตัวไอเพราะเป็นหน้าตัดที่มีประสิทธิภาพสูง ให้ความ
(ในบางบริเวณของโครงสร้าง ค่าอุณหภูมิสูงสุดและต�่าสุดอาจจะ คุ้มค่าสูงในเชิงความสามารถในการรับแรงเมื่อเทียบกับปริมาณและ
แตกต่างกันถึง 30 องศาเซลเซียส) โดยที่แรงยึดรั้งในแนวตามยาว มูลค่าของวัสดุที่ใช้ โดยผู้เขียนจะไม่อธิบายลงลึกในรายละเอียด
ของโครงสร้างจะไม่เยอะมากเกินไป โดยถ้าหากไม่มีแผ่นยางที่ เชิงกลศาสตร์ของหน้าตัด ณ ที่นี้
รูปที่ 3 รูปแปลน (ภาพมุมบน) ของขั้นตอนการก่อสร้างระบบพื้นสะพาน (Bridge Deck System)
36 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565